Google

Tuesday, December 25, 2018

แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๓๑๑-ข้อ ๓๒๐


แปลไทยเป็นมคธ
ข้อ ๓๑๑-ข้อ ๓๒๐

๓๑๑. พระจันทร์, ครั้นเมื่อเมฆ ไปปราศแล้ว, ย่อมเปล่ง ซึ่งรัศมี.
จนฺโท, เมเฆ อปคเต, โอภาสํ วิสชฺเชสิ ฯ

๓๑๒. พระอาทิตย์, ครั้นเมื่อฝน ตกแล้ว, ย่อมเศร้าหมอง.
สุริโย, เทเว วสฺสนฺเต, กิลิสฺสติ ฯ

๓๑๓. บุตร ผู้ใหญ่, ครั้นเมื่อบิดา ตายแล้ว,ย่อมได้ ซึ่งสมบัติ ของเขา.
เชฏฺฐโก ปุตฺโต, ปิตริ มเต, ตสฺส สมปตฺตึ ลภติ ฯ

๓๑๔. ศิษย์ ท., เมื่ออาจารย์ ของตน มาแล้ว, ลุกขึ้น จากที่นั่ง ด้วยความเคารพ.
สิสฺสา, อตฺตโน อาจริยสฺส อาคตสฺส, สกฺกจฺจํ อาสนา อุฏฺฐหนฺติ ฯ

๓๑๕. พระราชา, ครั้นเมื่อเดือน ล่วงแล้ว, ประทาน ซึ่งทรัพย์ แก่บริวาร ท. ของพระองค์.
ราชา, มาเส อติกฺกนฺเต, อตฺตโน ปริวารานํ ธนํ เทติ ฯ

๓๑๖. ติตถิยะ ท. , เมื่อพระพุทธเจ้าเกิดขึ้นแล้ว ในโลก, เสื่อมแล้ว จากลาภ.
ติตฺถิยา, พุทธสฺส โลเก อุปฺปนนสฺส, ลาภา ปริหายึสุ ฯ

๓๑๗. ฝูง แห่งเนื้อ ท., เมื่อราชสีห์ มาแล้ว, ย่อมหนีไป จากที่นั้น.
มิคานํ ยูโถ, สีหสฺส อาคตสฺส, ตมฺหา ฐานา ปลายติ ฯ

๓๑๘. เมื่อพระเถระ กล่าวอยู่ ซึ่งธรรม, อรุณ ขึ้นไปแล้ว.
เถรสฺส ธมฺมํ กเถนฺตสฺส, อรุโณ อุคฺคจฺฉิ ฯ

๓๑๙. แมงเม่า ท., เมื่อฝน ตกแล้ว, ย่อมขึ้นไป จากรู ของตน.
อินฺทโคปกา, เทวสฺส วุฏฺฐสฺส, อตฺตโน พิลา อุคฺคจฺฉนฺติ ฯ

๓๒๐. ชาย นี้, ครั้นเมื่อภริยา ของตน ตายแล้ว, ได้แล้ว ซึ่งภริยา อื่น .
อยํ ปุริโส, อตฺตโน ภริยาย มตาย, อญฺญํ ภริยํ ลภิ ฯ

แปลมคธเป็นไทย ข้อ ๓๐๑-ข้อ ๓๑๐


แปลมคธเป็นไทย
ข้อ ๓๐๑-ข้อ ๓๑๐

๓๐๑. รญฺเญ อาคเต, สพฺเพ ชนา ปกฺกมนฺติ ฯ
รญฺเญ ครั้นเมื่อพระราชา อาคเต เสด็จมาแล้ว, ชนา อ. ชน ท. สพฺเพ ทั้งปวง ปกฺกมนฺติ ย่อมหลีกไปฯ

๓๐๒. อยํ อิตฺถี, อตฺตโน สามิเก มเต, อญฺญํ สามิกํ ลภิ.
อิตฺถี อ. หญิง อยํ นี้ , สามิเก ครั้นเมื่อสามี อตฺตโน ของตน มเต ตายแล้ว, ลภิ ได้แล้ว สามิกํ ซึ่งสามี อญญํ อื่น ฯ

๓๐๓. นิโครฺธสฺส ปตฺตานิ, เทเว วุฏฺเฐ, ผลนฺติ.
ปตฺตานิ อ. ใบ ท. นิโครฺธสฺส ของต้นไทร, เทเว ครั้นเมื่อฝน วุฏฺเฐ ตกแล้ว, ผลนฺติ ย่อมผลิ ฯ

๓๐๔.เถรสฺส นิทฺทํ อโนกฺกมนฺตสฺส, อกฺขิมฺหิ โรโค อุปฺปชฺชิ.
เถรสฺส เมื่อพระเถระ อโนกฺกมนฺตสฺส ไม่ก้าวลงอยู่ นิทฺทํ สู่ความหลับ, โรโค อ. โรค อุปฺปชฺชิ เกิดชึ้นแล้ว อกฺขิมฺหิ ในนัยน์ตา ฯ

๓๐๕. อมฺพสฺส ผเลสุ สาขาย ปติเตสุ, ทารกา วิลุมฺปนฺติ .
ผเลสุ ครั้นเมื่อผล ท. อมฺพสฺส แห่งมะม่วง ปติเตสุ หล่นแล้ว สาขาย จากกิ่ง, ทารกา อ.ทารก ท. วิลุมฺปนฺติ ย่อมยื้อแย่ง ฯ

๓๐๖. ปิตา, อตฺตโน ปุตฺเต วุฑฺฒึ ปตฺเต, ตสฺส อตฺถาย กุมาริกํ อาเนสิ.
ปิตา อ. บิดา, ปุตฺเต ครั้นเมื่อบุตร อตฺตโน ของตน ปตฺเต ถึงแล้ว วุฑฺฒึ ซึ่งความเจริญ, อาเนสิ นำมาแล้ว กุมาริกํ ซึ่งนางกุมาริกา อตฺถาย เพื่อประโยชน์ ตสฺส แก่บุตรนั้น ฯ

๓๐๗. ทลิทฺทา, อตฺตโน ธเน นฏฺเฐ, โสจนฺติ.
ทลิทฺทา อ. ความยากจน ท., ธเน ครั้นเมื่อทรัพย์ อตฺตโน ของตน นฏฺเฐ หายแล้ว, โสจนฺติ ย่อมเศร้าโศกฯ

๓๐๘. ทารกา, อตฺตโน หตฺเถ ผเล มาตรา คหิตา, โรทนฺติ.
ทารกา อ. ทารก ท., ผเล ครั้นเมื่อผลไม้ หตฺเถ ในมือ อตฺตโน ของตน มาตรา อันมารดา คหิเต ถือเอาแล้ว, โรทนฺติ ย่อมร้องไห้ ฯ
๓๐๙. สามเณรสฺส ธมฺมํ กเถนฺตสฺส, ธนฺธกาโร ชาโต .
สามเณรสฺส เมื่อสามเณร ธมฺมํ กเถนฺตสฺส กล่าวอยู่ ซึ่งธรรม, อนฺธกาโร อ. หมอกผู้กระทำซึ่งความมืด ชาโต เกิดแล้ว ฯ

๓๑๐.ปทุมานิ, สุริเย อุคฺคเต, ปุปฺผนฺติ, ตสฺมึ อตฺถงฺคเต, ปตฺตานิ  ปิหทนฺติ.
ปทุมานิ อ. ดอกปทุม ท. , ครั้นเมื่อพระอาทิตย์ อุคฺคเต ขึ้นไปแล้ว, ปุปฺผนฺติ ย่อมบาน, ตสฺมึ สุริเย ครั้นเมื่อพระอาทิตย์ อตฺถงคเต อัสดงคตแล้ว, ปตฺตานิ อ. กลีบ ท. ปิทหนฺติ ย่อมหุบ ฯ

แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๒๙๑-ข้อ ๓๐๐


แปลไทยเป็นมคธ
ข้อ ๒๙๑-ข้อ ๓๐๐

๒๙๑. ต้นไทร ใหญ่ นี้ เป็น(ของ) อันเทวดา สิงแล้ว ฯ
อยํ มหนฺโต นิโครฺโธ เทวตาย อธิวุตฺโถ โหติ ฯ

๒๙๒. กองทัพ แห่งข้าศึก เป็น(หมู่) อันพระราชา ชำนะแล้ว.
อริโน ขนฺธวาโร รญฺญา ชิโต โหติ ฯ

๒๙๓.ศิลปะ อันนี้ เป็น(ของ) อันศิษย์ ของเรา ศึกษาแล้ว.
อิทํ สิปฺปํ มม สิสฺเสน สิกฺขิตํ โหติ ฯ

๒๙๔. คำนี้ เป็น(คำ) อันอุปัชฌาย์ ของท่าน พูดแล้ว.
อิทํ วจนํ ตว อุปชฺฌาเยน กถิตํ โหติ ฯ

๒๙๕. ผ้า ท. นี้ เป็น(ของ) อันทายก ถวายแล้ว แก่สงฆ์.
อิมานิ วตฺถานิ สงฆสฺส ทายเกน ทินฺนานิ โหนฺติ ฯ

๒๙๖. คลอง นั้น เป็น(ของ) อันบิดา ของเรา ท. ขุดแล้วฯ
โส ปสาโข โน ปิตรา ขโต โหติ ฯ

๒๙๗. ทรัพย์ ของคนจน เป็น(ของ) อันโจร ลักแล้ว .
ทลิทฺทสฺส ธนํ โจเรน คหิตํ โหติ ฯ

๒๙๘. ลูกชาย ของท่าน เป็น(ผู้) อันชนพาล ตีแล้ว .
ตุยฺหํ ปุตฺโต พาเลน ปหโต โหติ ฯ

๒๙๙. กิเลส ท. ทั้งปวง เป็น (โทษ) อันพระอรหันต์ ท. ละได้แล้ว.
สพฺเพ กิเลสา อรหนฺเตหิ ปหีนา โหนฺติ ฯ

๓๐๐. ธรรม นี้ เป็น(คุณ) อันผู้รู้ ท. ถึงทับแล้ว.
อยํ ธมฺโม มุนีหิ อธิคโต โหติ ฯ

แปลมคธเป็นไทย ข้อ ๒๗๖-ข้อ ๒๙๐.


แปลมคธเป็นไทย
ข้อ ๒๗๖-ข้อ ๒๙๐.

๒๗๖. ราชา ชเนหิ มานิโต โหติ.

ราชา อ. พระราชา ชเนหิ มานิโต เป็นผู้อันชน ท. นับถือแล้ว ฯ
๒๗๗. พุทฺโธ วิญฺญูหิ ปูชิโต.

พุทฺโธ อ. พระพุทธเจ้า วิญฺญูหิ ปูชิโต เป็นผู้อันบุคคลผู้รู้วิเศษ ท. บูชาแล้ว โหติ ย่อมเป็น ฯ
๒๗๘. สาวตฺถิยํ อญฺญตโร ภิกฺขุ อหินา ทฏฺโฐ กาลกโต โหติ ฯ

ภิกฺขุ อ. ภิกษุ อญฺญตโร รูปใดรูปหนึ่ง สาวตฺถิยํ ในพระนครชื่อว่าสาวัตถี อหินา ทฏฺโฐ เป็นผู้อันงูกัดแก้ว หุตฺวา เป็น กาลกโต เป็นผู้มีกาละอันกระทำแล้ว โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๗๙. เสฏฺฐิโน อาพาโธ อุปฺปนฺโน โหติ.
อาพาโธ อ.ความป่วยไข้ อุปฺปนฺโน เป็นสภาพเกิดขึ้นแล้ว เสฏฺฐิโน แก่เศรษฐี โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๘๐. สงฺฆสฺส จีวรํ อุสฺสนฺนํ โหติ.
จีวรํ อ. จีวร อุสฺสนฺนํ เป็นของหนาขึ้นแล้ว สงฺฆสฺส แก่สงฆ์ โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๘๑. ภิกฺขุ อตฺตโน สนฺตเกน ตุฏฺโฐ โหติ .
ภิกฺขุ อ. ภิกษุ ตุฏฺโฐ เป็นผู้ยินดีแล้ว สนฺตเกน ด้วยของมีอยู่ อตฺตโน ของตน โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๘๒. ปาโป ชาโตสิ .
ตฺวํ อ. ท่าน ปาโป เป็นผู้ลามก ชาโต เป็นสภาพเกิดแล้ว อสิ ย่อมเป็น ฯ

๒๘๓. ภควโต สาวกานํ สงฺโฆ สุปฏิปนฺโน โหติ ฯ
สงฺโฆ อ. หมู่ สาวกานํ แห่งสาวก ท. ภควโต ของพระผู้มีพระภาค สุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๘๔. อิมสฺมึ อาวาเส วสฺสํ วุตฺโถมฺหิ.
อหํ อ. เรา วุตฺโถ เป็นผู้อยู่แล้ว วสฺสํ ตลอดกาลฝน อาวาเส ในอาวาส อิมสฺมึ นี้ อมฺหิ ย่อมเป็น ฯ

๒๘๕. เทสนาวสาเน พหู ชนา โสตาปนฺนา อเหสุํ.
ชนา อ. ชน ท. พหู มาก โสตาปนฺนา เป็นพระโสดาบัน อเหสุํ ได้เป็นแล้ว เทสนาวสาเน ในกาลเป็นที่จบแห่งเทศนา ฯ

๒๘๖. อปฺปมตฺตา โหถ.
ตุมฺเห อ. ท่าน ท. อปฺปมตฺตา เป็นผู้ไม่ประมาทแล้ว โหถ จงเป็น ฯ

๒๘๗. อรหนฺโต ปรมาย วิสุทฺธิยา วิสุทฺธา โหนฺติ.
อรหนฺโต อ. พระอรหันต์ ท. วิสุทฺธา เป็นผู้บริสุทธิ์แล้ว วิสุทธิยา โดยความบริสุทธิ์ ปรมาย อย่างยิ่ง โหนฺติ ย่อมเป็น ฯ

๒๘๘. นวกสฺส ภิกฺขุโน อนภิรติ อุปฺปนฺนา โหติ.
อนภิรติ อ. ความไม่ยินดี อุปฺปนฺนา เป็นธรรมชาติเกิดขึ้นแล้ว ภิกฺขุโน แก่ภิกษุ นวกสฺส ผู้ใหม่ โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๘๙. อิทํ สิกฺขาปทํ ภควตา ภิกฺขูนํ ปญฺญตฺตํ โหติ.
สิกฺขาปทํ อ. สิกขาบท อิทํ นี้ ภควตา ปญฺญตฺตํ เป็นสิกขาบทอันอันพระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติแล้ว ภิกฺขูนํ แก่ภิกษุ ท. โหตติ ย่อมเป็น ฯ

๒๙๐. อิมานิ การณานิ มม อาจริเยน ทิฏฺฐานิ โหนฺติ.
การณานิ อ. เหตุ ท. อิมานิ เหล่านี้ มม อาจริเยน ทิฏฺฐานิ เป็นเหตุอันอันอาจารย์ของเราเห็นแล้ว โหนฺติ ย่อมเป็น ฯ

แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๒๖๖-ข้อ ๒๗๕


แปลไทยเป็นมคธ
ข้อ ๒๖๖-ข้อ ๒๗๕

๒๖๖. บิดา เป็นที่รัก ของเรา ท.
ปิตา อมฺหากํ ปิโย โหติ ฯ

๒๖๗. หญิงสาว เป็นที่ชอบใจ ของชายแก่.
ยุวตี มหลฺลกสฺส มนาปา โหติ.

๒๖๘. ข้าฯ เป็นที่รัก ของมารดา ของข้า.
อหํ มม มาตุยา ปิโย โหมิ ฯ

๒๖๙. ความไม่ประมาท เป็นทาง แห่งนิพพาน.
อปฺปมาโท นิพฺพานสฺส ปทํ ฯ

๒๗๐. ไฟ เป็นปาก (ประธาน) ของยัญ.
อคฺคิ ยญฺญสฺส มุขํ ฯ

๒๗๑. ความไม่มี แห่งโรค เป็นลาภ แห่งชน ท.
โรคสฺส อภาโว ชนานํ ลาโภ ฯ

๒๗๒. กรุงเทพฯ เป็นเมือง มั่งคั่ง.
เทวนครํ อฑฺฒํ โหติ ฯ

๒๗๓. วัด ไกล จากบ้าน ท. เป็นที่สบาย.
คาเมหิ ทูโร อาวาโส ผาสุโก โหติ ฯ

๒๗๔. แผ่นดิน เป็นที่อยู่ ของสัตว์ ท. ทั้งปวง.
ปฐวี สพฺเพสํ สตฺตานํ นิวาสา โหติ ฯ

๒๗๕. ต้นไม้ ท. เป็นที่อาศัย ของนก ท.
รุกฺขา สกุณานํ ปติฏฺฐา โหนฺติ ฯ

แปลมคธเป็นไทย ข้อ ๒๕๑-ข้อ ๒๖๕


แปลมคธเป็นไทย
ข้อ ๒๕๑-ข้อ ๒๖๕

๒๕๑. ราชา อตฺตโน รฏฺเฐ ชนานํ อิสฺสโร โหติ.
ราชา อ. พระราชา อิสฺสโร เป็นผู้เป็นใหญ่ ชนานํ แห่งชน ท. รฏฺเฐ ในแว่นแคว้น อตฺตโน ของพระองค์ โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๕๒. อยํ ทารโก เสฏฺฐิโน นตฺตา โหติ.
ทารโก อ. ทารก อยํ นี้ นตฺตา เป็นหลาน เสฏฺฐิโน ของเศรษฐี โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๕๓. พุทฺโธ สตฺตานํ นาโถ.
พุทฺโธ อ. พระพุทธเจ้า นาโถ เป็นที่พึ่ง สตฺตานํ ของสัตว์ ท. โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๕๔. ธมฺโม โน อุตฺตมํ สรณํ.
ธมฺโม อ. พระธรรม สรณํ เป็นที่ระลึก อุตฺตมํ อันสูงสุด โน แห่งเรา ท. โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๕๕. ยสฺมึ ภควติ พฺรหฺจริยํ จราม, โส โน ภควา สตฺถา.
มยํ อ. เรา ท. จราม ย่อมประพฤติ พฺรหฺมจริยํ ซึ่ งพรหมจรรย์ ภควติ ในพระผู้มีพระภาค ยสฺมึ ใด, ภควา อ. พระผู้มีพระภาค โส นั้น สตฺถา เป็นศาสดา โน แห่งเรา ท. โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๕๖. มนุสฺสานํ ชีวิตํ อปฺปํ โหติ.
ชีวิตํ อ. ชีวิต มนุสฺสานํ ของมนุษย์ ท. อปฺปํ เป็นธรรมชาติน้อย โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๕๗. สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา, เย อุปปชฺชนฺติ, เต นิรุชฌนฺติ.
สงฺขารา อ. สังขาร ท. สพฺเพ ทั้งปวง อนิจฺจา เป็นของไม่เที่ยง โหนฺติ ย่อมเป็น, เย สงฺขารา อ. สังขาร ท. เหล่าใด อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมเกิดขึ้น, เต สงฺขารา อ. สังขาร ท. เหล่านั้น นิรุชฺฌนฺติ ย่อมดับไป ฯ

๒๕๘. สพฺเพสํ สตฺตานํ มรณํ นิยตํ.
มรณํ อ. ความตาย สตฺตานํ แห่งสัตว์ ท. สพฺเพสํ ทั้งปวง นิยตํ เป็นของเที่ยง โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๕๙. สงโฆ อนุตฺตรํ โลกสฺส ปุญฺญสฺส เขตฺตํ.
สงฺโฆ อ. พระสงฆ์ เขตฺตํ เป็นเนื้อนา ปุญฺญสฺส แห่งบุญ โลกสฺส ของโลก อนุตฺตรํ อันยอดเยี่ยม โหติ ย่อมเป็นฯ

๒๖๐. ปุญฺญานิ สตฺตานํ ปติฏฺฐา โหนฺติ.
ปุญฺญานิ อ. บุญ ท. ปติฏฺฐา เป็นที่พึ่ง สตฺตานํ ของสัตว์ ท. โหนฺติ ย่อมเป็น ฯ

๒๖๑. ปมาโท มจฺจุโน ปทํ.
ปมาโท อ. ความประมาท ปทํ เป็นหนทาง มจฺจุโน แห่งความตาย โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๖๒. อยํ รุกฺโข อิมสฺมึ วเน สพฺเพหิ รุกฺเขหิ อุตฺตโม โหติ.
รุกฺโข อ. ต้นไม้ อยํ นี้ อุตฺตโม เป็นต้นไม้สูงที่สุด รุกฺเขหิ กว่าต้นไม้ ท. สพฺเพหิ ทั้งปวง วเน ในป่า อิมสฺมึ นี้ โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๖๓. ยํ มาตุ ธนํ, ตํ ปุตฺตสฺส สนฺตกํ โหติ.
ธนํ อ. ทรัพย์ มาตุ ของมารดา ยํ ใด, ตํ ธนํ อ. ทรัพย์นั้น สนฺตกํ เป็นของมีอยู่ ปุตฺตสฺส แห่งบุตร โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๖๔. ราชา มนุสฺสานํ มุขํ.
ราชา อ. พระราชา มุขํ เป็นประมุข มนุสฺสานํ ของมนุษย์ ท. โหติ ย่อมเป็น ฯ

๒๖๕. ภิกฺขุ ปญฺญวา โหติ.
ภิกฺขุ อ.ภิกษุ ปญฺญวา เป็นผู้มีปัญญา โหติ ย่อมเป็น ฯ

แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๒๔๑-ข้อ ๒๕๐


แปลไทยเป็นมคธ
ข้อ ๒๔๑-ข้อ ๒๕๐

๒๔๑.พระพุทธเจ้า แสดง ซึ่งธรรม เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข แห่งชน ท.
พุทฺโธ ชนานํ หิตาย สุขาย ธมฺมํ เทเสติ ฯ

๒๔๒. ชน ท. ใด ปฏิบัติ โดยเคารพ, ชน ท. นั้น พ้น จากทุกข์.
เย ชนา สกฺกจฺจํ ปฏิปชฺชนฺติ, เต ทุกฺขา ปมุจฺจนฺติ ฯ

๒๔๓. ผู้ใด สงวน ซึ่งตน, ผู้นั้น เว้น จากบาป.
โย อตฺตานํ สญฺญมติ, โส ปาปา วิรมติ ฯ

๒๔๔. ความเลื่อมใส ในธรรม ของผู้ใด มีอยู่, ผู้นั้น ประพฤติ ซึ่งธรรมนั้น.
ยสฺส ธมฺเม ปสาโท อตฺถิ, โส ตํ ธมฺมํ จรติ ฯ

๒๔๕. ลูกชาย ท. ของเศรษฐี มีอยู่ ๔ คน, ในเขา ท. คนหนึ่ง ตายเสีย.
จตฺตาโร เสฏฺฐิโน ปุตฺตา โหนฺติ, เตสุ เอโก มโต ฯ

๒๔๖. ผู้ใด ทำ ซึ่งบาป, บาปนั้น ให้ ซึ่งผล แก่ผู้นั้น.
โย ปาปํ กโรติ, ตํ ปาปํ ตสฺส วิปากํ เทติ ฯ

๒๔๗. ภิกษุ ท. ท่องอยู่ ซึ่งธรรม ในวิหาร.
ภิกฺขู วิหาเร ธมฺมํ สชฺฌายนฺติ ฯ

๒๔๘. คนเจ็บ นอนอยู่ ในที่นอน, หมอ ให้ ซึ่งยา แก่เขา .
คิลาโน สยเน นิปชฺชติ, เวชฺโช ตสฺส เภสชฺชํ เทติ ฯ

๒๔๙. พราหมณ์ ท. บูชา ซึ่งกอง แห่งไฟ เพื่อลาภ.
พฺราหฺมณา ลาภาย อคฺคิโน ราสึ ปูเชนฺติ ฯ

๒๕๐. สัตบุรุษ ท. บูชา ซึ่งรตนะ ท. ๓ ด้วยความเลื่อมใส ฯ
สปฺปุริสา ปสาเทน ตีณิ รตนานิ ปูเชนฺติ ฯ

แปลยมคธเป็นไทย ข้อ ๒๒๖-ข้อ ๒๔๐


แปลยมคธเป็นไทย
ข้อ ๒๒๖-ข้อ ๒๔๐

๒๒๖.อาจริโย อตฺตโน สิสฺสานํ โอวาทํ เทติ, เต สุณนฺติ.
อาจริโย อ. อาจารย์ เทติ ย่อมให้ โอวาทํ ซึ่งโอวาท สิสฺสานํ แก่ศิษย์ ท. อตฺตโน ของตน, เต สิสฺสา อ. ศิษย์ ท. เหล่านั้น สุณนฺติ ย่อมฟัง ฯ

๒๒๗. ทารกา ทิวเส สิปฺปํ สิกฺขนฺติ, เต อนุกฺกเมน วุฑฺฒึ ปาปุณนฺติ.
ทารกา อ. เด็ก ท. สิกฺขนฺติ ย่อมศึกษา สิปฺปํ ซึ่งศิลปะ ทิวเส ในวัน, เต ทารกา อ.เด็ก ท. เหล่านั้น ปาปุณนฺติ ย่อมถึง วุฑฺฒึ ซึ่งความเจริญ อนุกฺกเมน โดยลำดับ ฯ

๒๒๘. ปญฺญาย ปภา สพฺพาหิ ปภาหิ วิโรจติ.
ปภา อ. รัศมี ปญฺญาย แห่งปัญญา วิโรจติ ย่อมรุ่งเรือง ปภาหิ กว่ารัศมี ท. สพฺพาหิ ทั้งปวง ฯ

๒๒๙. โย พาเล เสวติ, โส วินาสํ ปาปุณาติ.
โย ปุคฺคโล อ. บุคคลใด เสวติ ย่อมเสพ พาเล ซึ่งชนพาล ท. , โส ปุคฺคโล อ. บุคคลนั้น ปาปุณาติ ย่อมถึง วินาสํ ซึ่งความพินาศ ฯ

๒๓๐. สปฺปุริสา สพฺเพสุ สตฺเตสุ เมตฺตํ กโรนฺติ.
สปฺปุริสา อ. สัตบุรุษ ท. กโรนฺติ ย่อมกระทำ เมตฺตํ ซึ่งความเมตตา สตฺเตสุ ในสัตว์ ท. สพฺเพสุ ทั้งปวง ฯ

๒๓๑. โย ธมฺมํ จรติ, โส ตสฺส วิปากํ อนุโภติ.
โย ปุคฺคโล อ. บุคคลด จรติ ย่อมประพฤติ ธมฺมํ ซึ่ งธรรม โส ปุคฺคโล อ. บุคคลนั้น อนุโภติ ย่อมเสวย วิปากํ ซึ่งวิบาก ตสฺส ธมฺมสฺส ของธรรมนั้น ฯ

๒๓๒. วิริเยน อตฺตานํ อตฺตโน นาถํ กโรติ.
ปุคฺคโล อ. บุคคล กโรติ ย่อมกระทำ อตฺตานํ ซึ่งตน นาถํ ให้เป็นที่พึ่ง อตฺตโน ของตน วิริเยน ด้วยความเพียร ฯ

๒๓๓. ตาสฺมึ ภควติ พฺรหฺมจริยํ จราม.
มยํ อ. เรา ท. จราม ย่อมประพฤติ พฺรหฺมจริยํ ซึ่ งพรหมจรรย์ ภควติ ในพระผู้มีพระภาค ตสฺมึ นั้น ฯ

๒๓๔. มาตา อตฺตโน ปุตฺตํ อนุสาสติ, โส ตสฺสา โอวาเท ติฏฺฐติ.
มาตา อ. มารดา อนุสาสติ ย่อม พร่ำสอน ปุตฺตํ ซึ่งบุตร อตฺตโน ของตน, โส ปุตฺโต อ. บุตรนั้น ติฏฺฐติ ย่อม ตั้งอยู่
โอวาเท ในโอวาท ตสฺสา มาตุยา ของมารดานั้น ฯ

๒๓๕. กตเรน มคฺเคน รญฺโญ วิเวสนํ คจฺฉสิ?
ตฺวํ อ. ท่าน คจฺฉสิ จะไป นิเวสนํ สู่วัง รญโญ ของพระราชา มคฺเคน โดยหนทาง กตเรน ไหน ฯ

๒๓๖. อสุเกน มคฺเคน คจฺฉามิ.
อหํ อ. เรา คจฺฉามิ จะไป มคฺเคน โดยหนทาง อสุเกน ชื่อโน้น ฯ

๒๓๗. กตรสฺมึ คาเม วสถ? นครสฺส สมีเป วสาม.
ตุมฺเห อ. ท่าน ท. วสถ ย่อมอยู่ คาเม ในบ้าน กตรสฺมึ ไหน, มยํ อ. เรา ท. วสาม ย่อมอยู่ สมีเป ในที่ใกล้ นครสฺส แห่งเมือง ฯ

๒๓๘. อมฺพสฺส ผลานิ สาขาย ปตนฺติ, ทารกา ตานิ วิลุมปนฺติ.
ผลานิ อ. ผล ท. อมฺพสฺส ของมะม่วง ปตนฺติ ย่อมหล่น สาขาย จากกิ่ง, ทารกา อ. เด็ก ท. วิลุมฺปนฺติ ย่อมยื้อแย่ง ตานิ อมฺพผลานิ ซึ่งผลมะม่วง ท. เหล่านั้น ฯ

๒๓๙. ราชา มหนฺเตน ปริวาเรน อารามํ คจฺฉติ.
ราชา อ. พระราชา คจฺฉติ ย่อมเสด็จไป อารามํ สู่อาราม ปริวเรน ด้วยบริวาร(กับบริวาร) มหนฺเตน ใหญ่ ฯ

๒๔๐. พฺราหฺมณา ภิกฺขาย นครํ ปวิสนฺติ.
พฺราหฺมณา อ. พราหมณ์ ท. ปวิสนฺติ ย่อมเข้าไป นครํ สู่เมือง ภิกฺขาย เพื่อภิกษา ฯ

แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๒๑๕- ข้อ ๒๒๕


แปลไทยเป็นมคธ
ข้อ ๒๑๕- ข้อ ๒๒๕

๒๑๖. คำสอน ของพระผู้มีพระภาค ใด แผ่ไปแล้ว ในโลก, พระผู้มีพระภาคนั้น ปรินิพพานแล้ว.
ยสฺส ภควโต สาสนํ โลเก ปตฺถตํ, โส ปรินิพฺพุโต ฯ

๒๑๗. ความสรรญเสริญ เกิดขึ้นแล้ว แก่ผู้ใด, ความนินทา เกิดขึ้นแล้ว แก่ผู้นั้น.
ยสฺส ปสํสา อุปฺปนฺนา, ตสฺส นินฺทา อุปฺปนฺนา ฯ

๒๑๘. บุตร ท. แห่งหญิง นี้ ทั้งหมด บวชแล้ว ในพระศาสนา.
สพฺเพ อิมิสสา อิตฺถิยา ปุตฺตา สาสเน ปพฺพชิตา ฯ

๒๑๙. อำมาตย์ ผู้โน้น ไปแล้ว สู่วัง แห่งพระราชา.
อสุโก อมจฺโจ รญฺโญ นิเวสนํ คโต ฯ

๒๒๐. ลูกชาย ของท่าน ไปแล้ว สู่ป่า ด้วยลูกชาย ของข้า.
ตว ปุตฺโต มม ปุตฺเตน วนํ คโตฯ

๒๒๑. ดอกไม้ ท. นี้ อันแม่ของข้า ให้แล้ว แก่อาจารย์ ของท่าน.
อิมานิ ปุปฺผานิ ตว อาจริยสฺส มม มาตรา ทินฺนานิฯ

๒๒๒. ธรรมนี้ อันพระศาสดา ของเรา ท. แสดงแล้ว.
อมฺหากํ สตฺถารา อยํ ธมฺโม เทสิโตฯ

๒๒๓. น้ำเต็มแล้ว ในเรือ นั่น.
อุทกํ เอติสฺสํ นาวาย ปุณณํ ฯ

๒๒๔. ใคร นอนแล้ว ในห้อง โน้น? ภิกษุ ใหม่ องค์หนึ่ง.
โก อมุกสฺมึ คพเภ นิปนฺโน, เอโก นวโก ภิกขุ ฯ

๒๒๕. กระบือ นี้ ดุ, คน ท. มาก อันมันขวิด(ประหาร) แล้ว.
จณฺโฑ อยํ มหิโส, พหู นรา เตน ปหตา ฯ

แปลยกศัพท์ ข้อ ๒๐๑- ข้อ ๒๑๕


แปลยกศัพท์
ข้อ ๒๐๑- ข้อ ๒๑๕

๒๐๑.อญฺญตโร ภิกฺขุ คามํ ปิณฺฑาย ปวิฏฺโฐ.
ภิกฺขุ อ. ภิกษุ อญฺญตโร รูปใดรูปหนึ่ง ปวิฏฺโฐ เข้าไปแล้ว คามํ สู่บ้าน ปิณฺฑาย เพื่อบิณฑบาต ฯ

๒๐๒. อิมสฺส ปุริสสฺส ปุตฺโต ปพฺพชิโต.
ปุตฺโต อ. บุตร ปุริสสฺส ของบุรุษ อิมสฺส นี้ ปพฺพชิโต บวชแล้ว ฯ

๒๐๓. ยสฺส สุขํ อุปฺปนฺนํ, ตสฺส ทุกฺขํ อุปฺปนฺนํ.
สุขํ อ.ความุข อุปฺปนฺนํ บังเกิดแล้ว ยสฺส ปุคฺคลสฺส แก่บุคคลใด, ทุกฺขํ อ. ความทุกข์ อุปฺปนฺนํ บังเกิดแล้ว ตสฺส ปุคฺคลสฺส แก่บุคคลนั้น ฯ

๒๐๔. มม อาจริโย อมุกสฺส อาวาเส วสฺสํ วุตฺโถ.
อาจริโย อ. อาจารย์ มม ขอเรา วุตฺโถ อยู่แล้ว วสฺสํ ตลอดกาลฝน อาวาเส ในอาวาส อมุกสฺส ชื่อโน้น ฯ

๒๐๕. เอสา อิตฺถี นหานาย นทึ คตา.
อิตฺถี อ. หญิง เอสา นั่น คตา ไปแล้ว นทึ สู่แม่น้ำ นหานาย เพื่ออันอาบ ฯ

๒๐๖. เกน เอตานิ จีวรานิ ตุยฺหํ ทินฺนานิ? มยฺหํ อุปฏฺฐเกนฯ
จีวรานิ อ. จีวร ท. เอตานิ เหล่านั้น เกน อันใคร ทินฺนานิ ถวายแล้ว ตุยฺหํ แก่ท่าน, (เติมเข้ามาใหม่) จีวรานิ อ. จีวร ท. อุปฏฐเกน อันอุปัฏฐาก ทินฺนานิ ถวายแล้ว มยฺหํ แก่กระผม ฯ

๒๐๗. อญฺโญ เม อากปฺโป กรณีโย.
อากปฺโป อ. มารยาท อญฺโญ อื่น เม อันเรา กรณีโย พึงกระทำฯ

๒๐๘. จณฺโฑ อยํ สุนโข, กิสฺมึ การเณ โส ตยา โปสิโต? ตสฺมึ อนุกมฺปายฯ
สุนโข อ. สุนัข อยํ นี้ จณฺโฑ ดุร้าย, โส สุนโข อ. สุนัขนั้น ตยา อันท่าน โปสิโต เลี้ยงแล้ว การเณ ในเพราะเหตุ กสฺมึ อะไร, (เติมเข้ามาใหม่) โส สุนโข อ.สุนัขนั้น มยา อันเรา โปสิโต เลี้ยงแล้ว อนุกมฺปาย ด้วยความเอ็นดู ตสฺมึ สุนเข ในสุนัขนั้น ฯ

๒๐๙. เอโส รุกฺโข วาเตน ปหโต, ตสฺส ปณฺณานิ ปติตานิ.
รุกฺโข อ. ต้นไม้ เอโส นั่น วาเตน อันลม ปหโต พัดแล้ว, ปณฺณานิ อ. ใบ ท. ตสฺส รุกฺขสฺส ของต้นไม้นั้น ปติตานิ หล่นแล้วฯ

๒๑๐. อาจริเยน โน อตฺตโน ปิโย สิสฺโส ตว สนฺติกํ เปสิโต.
สิสฺโส อ. ศิษย์ ปิโย ผู้เป็นที่รัก อตฺตโน ของตน อาจริเยน อันอาจารย์ โน ของเรา ท. เปสิโต ส่งไปแล้ว สนฺติกํ สู่สำนัก ตว ของท่านฯ

๒๑๑. ปตฺโต เม นฏฺโฐ, อิมสฺสํ กุฏิยํ สามเณเรน นิกฺขิตฺโต.
ปตฺโต อ. บาตร เม ของเรา นฏฺโฐ หายแล้ว, โส ปตฺโต อ. บาตรนั้น สามเณเรน อันสามเณร นิกฺขิตฺโต เก็บไว้แล้ว กุฏิยํ ในกุฏี อิมสฺมึ นี้ ฯ

๒๑๒. ปุตฺโต เต วยํ ปตฺโต.
ปุตฺโต อ. บุตร เต ของท่าน ปตฺโต ถึงแล้ว วยํ ซึ่งวัยฯ

๒๑๓. อิทํ ปณฺณํ มม สหาเยน ตุยฺหํ เปสิตํ.
ปณฺณํ อ. หนังสือ(จดหมาย) อิทํ นี้ สหาเยน อันสหาย มม ของเรา เปสิตํ ส่งไปแล้ว ตุยฺหํ เพื่อท่าน ฯ

๒๑๔. อิมสฺมึ มธุมฺหิ มกฺขิกา ปติตา.
มกฺขิกา อ. แมลงวัน ท. ปติตา ตกลงแล้ว มธุมฺหิ ในน้ำผึ้ง อิมสฺมึ นี้ฯ

๒๑๕. มยํ อิมินา ปุริเสน รญฺโญ อุยฺยานํ คตา.
มยํ อ. เรา ท. คตา ไปแล้ว อุยฺยานํ สู่อุทยาน รญฺโญ ของพระราชา ปุริเสน ด้วยบุรุษ อิมินา นี้ ฯ

Followers

Flagcounter

free counters

Speedy

SplashDirectory.comFree Counter