Google

Wednesday, October 16, 2019

แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๓๗๑-ข้อ ๓๘๐


แปลไทยเป็นมคธ
ข้อ ๓๗๑-ข้อ ๓๘๐

๓๗๑. แน่ะพ่อ เจ้า จงอย่าเสพ ซึ่งชนพาล ท.
มา ตาต ตฺวํ พาเล เสว ฯ

๓๗๒. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ธรรมนี้ ชื่ออะไร? ดูกรผู้มีอายุ ชื่ออาทิตตปริยาย.
โก นาม ภนฺเต อยํ ธมฺโม, อาทิตฺตปริยาโย นาม อาวุโส ฯ

๓๗๓. จำเดิม แต่นี้ เจ้า อย่า มาแล้ว ในที่นี้ อีก.
มา ตฺวํ อิโต ปฏฺฐาย ปุน อิธาคจฺฉิ ฯ.

๓๗๔. ท่านผู้มีอายุ อย่า พากเพียรแล้ว เพื่ออันทำลาย ซึ่งสงฆ์ ผู้พร้อมเพรียงกัน.
มา อายสฺมา สมคฺคสฺส สงฺฆสฺส เภทาย ปรกฺกมิ ฯ

๓๗๕. ท่าน จักไป สู่ฝั่ง แห่งแม่น้ำ กับข้าฯ หรือ.
กึ มยา สทฺธึ นทิยา ปารํ คจฺฉิสฺสสิ ฯ

๓๗๖. ท่าน อย่า บอกแล้ว ซึ่งเนื้อความ นั้น แก่ใครๆ.
มา ตฺวํ กสฺสจิ ตมตฺถํ อาจิกขิ ฯ

๓๗๗. แน่ะพ่อ เจ้า อย่า เสพแล้ว ซึ่งสิ่งใช่ประโยชน์
มา ตาต อนตฺถํ เสวิ ฯ

๓๗๘. ท่าน ท. จง อย่า ประกอบตาม ซึ่งความไม่ประมาท.
มา ปมาทํ อนุยุญฺเชถ (มา ปมาทมนุยุญฺเชถ) ฯ

๑๗๙. พระชนม์ ของพระผู้มีพระภาค เท่าไร ?
กติ ภควโต อายุ? อสีติ ฯ

๓๘๐. กิเลส ท. อย่า ยังท่าน ท. ให้เป็นไป ในอำนาจ แห่งตน.
มา กิเลสา อตฺตโน วเส โว วตฺตาเปนฺตุ ฯ

แปลมคธเป็นไทย ข้อ ๓๖๑-ข้อ ๓๗๐


แปลยกศัพท์
ข้อ ๓๖๑-ข้อ ๓๗๐

๓๖๑. กติ อตฺถวเส ภควตา ภิกฺขูนํ สิกฺขาปทํ ? ทส.
อ. สิกขาบท ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ปญฺญตฺตํ ทรงบัญญัติแล้ว ภิกฺขูนํ แก่ภิกษุ ท. ปฏิจฺจ เพราะอาศัย อตฺถวเส ซึ่งอำนาจแห่งประโยชน์ ท. กติ เท่าไร? สิกฺขาปทํ อ. สิกขาบท ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ปญฺญตฺตํ ทรงบัญญัติแล้ว ภิกฺขูนํ แก่ภิกษุ ท. ปฏิจฺจ เพราะอาศัย อตฺถวเส ซึ่งอำนาจแห่งประโยชน์ ท. ทส สิบฯ

๓๖๒. อตฺถิ ปนายสฺสมโต โกจิ เวยฺยาวจฺจกโร?
ปน ก็ โกจิ อ. ใครๆ เวยฺยาวจฺจกโร ผู้เป็นไวยาวัจกร อายสฺมโต ของท่านผู้มีอายุ อตฺถิ มีอยู่หรือ?

๓๖๓. มา อายสฺมนฺโต เอวํ อวจุตฺถ.
อายสฺมนฺโต ข้าแต่ท่านผู้มีอายุ ท. ตุมเห อ. ท่าน ท. อา อวจุตฺถ อย่าได้กล่าวแล้ว เอวํ อย่างนี้ ฯ

๓๖๔. โก นาม เต อุปชฺฌาโย?
อุปชฺฌาโย อ. พระอุปัชฌาย์ เต ของท่าน โก นาม ชื่ออะไร?

๓๖๕. อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต อายสฺมา ติสฺสตฺเถโร นาม.
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อุปชฺฌาโย อ. พระอุปัชฌาย์ เม ของกระผม อายสฺมา ติสฺสตฺเถโร นาม ชื่อติสสเถระ ผู้มีอายุ โหติ ย่อมเป็น ฯ

๓๖๖. สเจ อหํ ตํ คหปติ อโรคํ กเรยฺยํ, กึ เม เทยฺยธมฺโม? สพฺพํ จ เต อาจริย สาปเตยฺยํ โหตุ, อหํ จ เต ทาโสฯ
คหปติ ดูกรคฤหบดี สเจ หากว่า อหํ อ. เรา กเรยฺยํ พึงกระทำ ตํ ซึ่งท่าน อโรคํ ให้เป็นผู้หาโรคมิได้ไซร้, เทยฺยธมฺโม อ. ไทยธรรม กึ อะไร ภวิสฺสติ จักมี แก่เรา? อาจริย ข้าแต่อาจารย์ จ ก็ สาปเตยฺยํ อ. ทรัพย์สมบัติ สพฺพํ ทั้งปวง โหตุ จงมี แก่ท่าน , จ อนึ่ง อหํ อ. เรา ทาโส เป็นทาส เต ของท่าน โหมิ จะเป็นฯ

๓๖๗. มา เม ตฺวํ คหปติ สพฺพํ สาปเตยฺยํ อทาสิ, มา จ เม ทาโส.
คหปติ ดูกรคฤหบดี ตวํ อ. ท่าน มา อทาสิ อย่าได้ให้แล้ว สาปเตยฺยํ ซึ่งทรัพย์สมบัติ สพฺพํ ทั้งปวง เม แก่เรา, จ อนึ่ง ตฺวํ อ.ท่าน ทาโส เป็นทาส เม ของเรา มา โหหิ จงอย่าเป็นฯ

๓๖๘. เอเต โข ภเณ เวชฺชา นาม พหุมายา, มา จ อสฺส กิญฺจิ ปฏิคฺคเหสิ.
ภเณ แน่ะพนาย เวชฺชา ชื่อ อ. หมอ ท. เอเต โข เหล่านั่นแล พหุมายา เป็นคนมีมายามาก โหนฺติ ย่อมเป็น, จ ก็ ตฺวํ อฺ ท่าน มา ปฏิคฺคเหสิ อย่าถือเฉพาะแล้ว(อย่าชื่อถือ) กิญฺจิ วจนํ ซึ่งคำอะไรๆ อสฺส เวชฺสฺส ของหมอนั่นฯ

๓๖๙. ปริปุณฺณํ เต ปตฺตจีวรํ,? อาม ภนฺเต.
ปตฺตจีวรํ อ. บาตรและจีวร เต ของท่าน ปริปุณฺณํ เต็มรอบแล้วหรือ(มีครบแล้วหรือ)? ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อาม เออ ปตฺตจีวรํ อ. บาตรและจีวร เม ของกระผม ปริปุณฺณํ เต็มรอบแล้ว?

๓๗๐. มา ตํ โลโภ อธมฺโม จ จิรํ ทุกฺขาย รนฺธยุ ฯ
โลโภ จ อ. ความโลภด้วย อธมฺโม จ อ. สภาพมิใช่ธรรมด้วย มา รนฺธยุ อย่าระรานแล้ว ตํ ซึ่งท่าน ทุกฺขาย เพื่อทุกข์ จิรํ สิ้นกาลนานฯ

แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๓๕๑-ข้อ ๓๖๐


แปลเป็นมคธ
ข้อ ๓๕๑-ข้อ ๓๖๐

๓๕๑. แน่ะพ่อ ความเจ็บ ของข้าฯ เป็นโรค หนัก, ข้าฯ จักตายเป็นแท้, เมื่อ ข้าฯ ตายแล้ว, เจ้าจงเลี้ยง ซึ่งมารดา ของเจ้า.
มยฺหํ ตาต อาพาโธ ครุโก โหติ, อวสฺสํ มริสฺสามิ, มม มตสฺส, ตว มาตรํ โปเสหิ ฯ
๓๕๒. ดูกรผู้มีอายุ เจ้าจงประกอบ ซึ่งธุระ ท. ๒ ในศาสนา นี้ เจ้า ทำ ตามคำ ของข้าฯ เจ้าจักถึง ซึ่งความเจริญ ในศาสนา นี้.
อิธ สาสเน อาวุโส เทฺว ธุรานิ โยเชหิ, สเจ มม วจนํ กโรสิ อิธ สาสเน วุฑฺฒึ ปาปุณิสฺสสิ ฯ

๓๕๓. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ เนื้อความแห่งคำ นี้ อย่างไร?
กถํ ภนฺเต อิมสฺส วจนสฺส อตฺโถ ฯ

๓๕๔. แน่ะนางผู้เจริญ เจ้า ทำ อย่างนี้ เพราะเหตุอะไร?
กสฺมา ตฺวํ ภทฺเท เอวํ กโรสิ ?

๓๕๕. แน่ะภิกษุ ท. ธรรม ท. ๘ นี้ ย่อมเป็นไป ตามซึ่งโลก, อนึ่ง โลก ย่อมเป็นไปตาม ซึ่งธรรม ท. ๘ นี้.
อฏฺฐิเม ภิกฺขเว ธมฺมา โลกํ อนุวตฺตนฺติ, โลโก จ อฏฺฐิเม ธมฺเม อนุวตฺตติ ฯ

๓๕๖. แน่ะแม่ เจ้า ไปแล้ว สู่ตระกูล แห่งผัว จงลุกขึ้นแล้ว แต่เช้า ทำ ซึ่งงาน ของผัว แห่งตน ในวันๆ จงรักษา ซึ่งทรัพย์ อันเขานำมาแล้ว จากอันตราย.
อมฺเม ปติโน กุลํ คนฺตฺวา ปาโต อุฏฺฐาย ทิวเส ทิวเส อตฺตโน ปติโน กมฺมํ กตฺวา เตน อานิตํ อนฺตรายา ธนํ รกฺขาหิ ฯ

๓๕๗. ดูกรสาธุชน ท. บัดนี้ ดิถี ที่ ๘ ถึงพร้อมแล้ว, เพราะเหตุนั้น ท่าน ท. ประชุมกันแล้ว ในที่นี้ เพื่อจะฟัง ซึ่งธรรม ข้าพเจ้า จักกล่าว ซึ่งธรรมนั้น ตามกาล .
อิทานิ สาธโว อฏฺฐมี ติถิ สมฺปตฺตา, ตสฺมา อิธ ตุมฺเห ธมฺมํ โสตุ สนฺนิปติตา, กาเลน ตํ ธมฺมํ ภาสิสฺสามิ ฯ

๓๕๘. แน่ะเพื่อน ช้าง เผือก มาถึงแล้ว, มัน ยืนแล้ว ในโรง ในวัง, พรุ่งนี้ เรา ท. จงไป เพื่อจะดู ซึ่งมัน.
สมฺม สพฺพเสโต หตฺถี อาคโต, โส นิเวสเน สาลายํ ฐิโต, เสฺว ตสฺส ทสฺสนตฺถํ คจฺฉาม ฯ

๓๕๙. แน่ะพนาย พรุ่งนี้ เรา จักให้ ซึ่งทาน, เจ้า จงไปแล้ว สู่วัด นิมนต์ ซึ่งภิกษุ ท. ๕ รูป.
อหํ ภเณ เสฺว ทานํ ทสฺสามิ, อารามํ คนฺตฺวา ปญฺจ ภิกฺขู นิมนฺเตหิ ฯ

๓๖๐. ข้าแต่นาย บัดนี้ ภิกษุ ท. มาแล้ว, เจ้าจงเชิญ เธอ ให้เข้ามา ในเรือน.
อิทานิ สามิ ภิกฺขู อาคตา, เคเห เต อาคจฺฉาเปหิ ฯ

แปลมคธเป็นไทย ข้อ ๓๔๑-ข้อ ๓๕๐


แปลยกศัพท์
ข้อ ๓๔๑-ข้อ ๓๕๐

๓๔๑. เทฺว เม ภิกฺขเว อนฺตา ปพฺพชิเตน น เสวิตพฺพา.
ภิกฺขเว ดูกรภิกษุ ท. อนฺตา อ. ที่สุด ท. เทฺว สอง อิเม เหล่านี้ ปพฺพชิเตน อันบรรพชิต น เสวิตพฺพา ไม่พึงเสพฯ

๓๔๒. อิเม โข ปนายสฺมนฺโต เทฺวนวุติ ปาจิตฺติยา ธมฺมา อุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺติ.
อายสฺมนฺโต ดูกรท่านผู้มีอายุ ท. ปน ก็ ธมฺมา อ.ธรรม ท. ปาจิตติยา ชื่อปาจิตตีย์ เทฺวนวุติ เก้าสิบสอง อิเม โข เหล่านี้แล อาคจฺฉนฺติ ย่อมมา อุทฺเทสํ สู่อุเทศ ฯ

๓๔๓. อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต โหหิ .
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ตฺวํ อ. ท่าน อุปชฺฌาโย เป็นพระอุปัชฌาย์ เม ของกระผม โหหิ จงเป็น ฯ

๓๔๔. อหํ อาวุโส สมฺพหุลา ทุกฺกฏาโย อาปตฺติโย อาปนฺโน ตา ปฏิเทเสมิ.
อาวุโส ดูกรท่านผู้มีอายุ อหํ อ. เรา อาปนฺโน เป็นผู้ต้องแล้ว อาปตฺติโย ซึ่งอาบัติ ท. ทุกฺกฏาโย ชื่อว่า ทุกกฎ สมฺพหุลา มากพร้อม หุตฺวา เป็น ปฏิเทเสมิ ย่อมแสดงคืน ตา อาปตฺติโย ซึ่งอาบัติ ท. เหล่านั้น ฯ

๓๔๕. สกฺขสิ ปน ตฺวํ คหปติ เอเกน ปสฺเสน สตฺต มาเส นิปชฺขิตุ ? สกฺโกมหํ อาจริย.
คหปติ ดูกรคฤหบดี ปน ก็ ตฺวํ อ. ท่าน สกฺขสิ ย่อมอาจ นิปชฺชิตุ เพื่ออันนอน มาเส ตลอดเดือน ท. สตฺต เจ็ด ปสฺเสน โดยข้าง เอเกน ข้างเดียวหรือ? อาจริย ข้าแต่อาจารย์ อหํ อ. กระผม สกฺโกมิ ย่อมอาจ นิปชฺขิตุ เพื่ออันนอน มาเส ตลอดเดือน ท. สตฺต เจ็ด ปสฺเสน โดยข้าง เอเกน ข้างเดียว ฯ

๓๔๖. มยฺหํ โข เทว ตาทิโส อาพาโธ; สาธุ เทโว ชีวกํ เวชฺชํ อาณาเปตุ, โส มํ ติกิจฺฉิสฺสติ.
เทว ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ อาพาโธ อ. อาพาธ ตาทิโส เช่นนั้น อตฺถิ มีอยู่ มยฺหํ โข แก่ข้าพระองค์แล, สาธุ ดังข้าพระองค์ขอโอกาส เทโว อ. พระองค์ผู้สมมติเทพ อาณาเปตุ จงบังคับ เวชฺชํ ซึ่งหมอ ชีวกํ ชื่อว่าชีวก, โส ชีวโก อ.หมอชีวกนั้น ติกิจฺฉิสฺสติ จักเยียวยา มํ ซึ่งข้าพระองค์ ฯ

๓๔๗. อภิญฺญาย โว ภิกฺขเว ธมฺมํ เทเสมิ.
ภิกฺขเว ดูกรภิกษุ ท. อหํ อ. เรา เทเสมิ จะแสดง ธมฺมํ ซึ่งธรรม โว แก่เธอ ท. อภิญฺญาย เพื่อความรู้ยิ่ง ฯ

๓๔๘. ยโตหํ ภคินิ อริยาย ชาติยา ชาโต นาภิชานามิ สญฺจิจ ปาณํ ชีวิตา โวโรเปตา, เตน สจฺเจน โสตฺถิ เต โหตุ, โสตฺถิ คพฺภสฺส.
ภคินิ ดูกรน้องหญิง อหํ อ. เรา ชาโต เกิดแล้ว ชาติยา โดยชาติ อิริยาย อันประเสริฐ ยโต กาลโต ในกาลใด, อหํ อ. เรา สญฺจิจฺจ โวโรเปตา แกล้งปลงลงแล้ว ปาณํ ซึ่งสัตว์มีลมปราณ ชีวิตา จากชีวิต น อภิชานามิ ย่อมไม่รู้ยิ่ง ตโต กาลโต ในกาลนั้น, โสตฺถิ อ. ความสวัสดี โหตุ จงมี เต แก่ท่าน สจฺเจน ด้วยความสัตย์ เตน นั้น, โสตถิ อ.ความสวัสดี โหตุ จงมี คพฺภสฺส แก่สัตว์ผู้เกิดแล้วในครรภ์ สจฺเจน ด้วยความสัตย์ เตน นั้น ฯ

๓๔๙. ยคฺเฆ อยฺเย ชาเนยฺยาสิ: สุทินฺโน อนุปฺปตฺโต.
อยฺเย ข้าแต่แม่เจ้า ยคฺเฆ ขอเดชะ ตฺวํ อ. ท่าน ชาเนยฺยาสิ พึงทราบ: สุทินฺโน อ. พระสุทิน อนุปฺปตฺโต ถึงแล้วโดยลำดับ ฯ

๓๕๐. ยสฺมา จ โข ภิกฺขเว รูปํ อนตฺตา; ตสฺมา รูปํ อาพาธาย สํวตฺตติ.
ภิกฺขเว ดูกรภิกษุ ท. จ ก็ รูปํ อ. รูป อนตฺตา เป็นธรรมชาติมิใช่ตน โหติ ย่อม

เป็น ยสฺมา โข เพราะเหตุใดแล; ตสฺมา เพราะเหตุนั้น รูปํ อ. รูป สํวตฺตติ ย่อม

เป็นไปพร้อม อาพาธาย เพื่อความเจ็บไข้ ฯ

แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๓๓๑-ข้อ ๓๔๐


แปลไทยเป็นมคธ
ข้อ ๓๓๑-ข้อ ๓๔๐

๓๓๑. หมู่ แห่งภิกษุ ท., ครั้นเมื่อดิถี ที่ ๑๕ ถึงพร้อมแล้ว, ประชุมกันแล้ว ในสีมา, ทำ ซึ่งอุโบสถ.
ภิกฺขูนํ สงฺโฆ, ปณฺณรสิยา ติถิยา สมฺปตฺตาย, สีมายํ สนฺนิปติตฺวา อุโปสถํ กโรติ ฯ

๓๓๒. สังขาร ท. ทั้งปวง ไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้ว ย่อมดับไป.
สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา อุปฺปชฺชิตฺวา นิรุชฌนฺติ ฯ

๓๓๓. คนจน ท. เข้าไปแล้ว สู่เมือง, ทำแล้ว ซึ่งการงาน, ครั้นเมื่อค่าจ้าง อันตน ได้แล้ว, ซื้อแล้ว ซึ่งอาหาร ด้วยค่าจ้างนั้น บริโภคแล้ว .
ทลิทฺทา นครํ ปวิสิตฺวา, กมฺมํ กตฺวา, ภติยา อตฺตนา ลทฺธาย, ตาย อาหารํ กีณิตฺวา, ปริภุญชึสุ ฯ

๓๓๔. ชาวนา ท., ครั้นเมื่อฤดูฝน ถึงพร้อมแล้ว, ไถแล้ว ซึ่งนา หวานแล้ว ซึ่งพืช ท., ครั้นเมื่อข้าวกล้า ท. สุกแล้ว, เกี่ยวแล้ว ซึ่งข้าวกล้า ท. นั้น ด้วยเคียว ให้เป็นฟ่อน นำมาแล้ว นวดแล้ว ในลาน ถือเอาแล้ว ซึ่งข้าวเปลือก ท.
กสกา, วสฺเส สมฺปตฺเต, เขตฺตํ กสิตฺวา พีชานิ วปิตฺวา, สสฺเสสุ ปกฺเกสุ, ทาเตน ตานิ ลุนิตฺวา, กลาปํ พนฺธิตฺวา, อาเนตฺวา ขเล ปริมทฺทิตฺวา วีหโย คณหึสุ ฯ

๓๓๕. พราน ท. ไปแล้ว สู่ป่า เห็นแล้ว ซึ่งเนื้อ ยิงแล้ว ซึ่งมัน ด้วยธนู, เมื่อมัน ลมแล้ว ตายแล้ว, ถือเอาแล้ว ซึ่งเนื้อแห่งมัน นำมา ขาย.
ลุทฺทกา วนํ คนฺตวา, มิคํ ทิสฺวา ธนุนา ตํ วิชฺฌิตฺวา, ตสฺมึ ปติตฺวา มเต, ตสฺส มํสํ คเหตฺวา, วิกฺกีณนฺติ ฯ

๓๓๖. อุบาสิกา ไปแล้ว สู่วัด นิมนต์แล้ว ซึ่งภิกษุ ท. ตระเตรียมแล้ว ซึ่งทาน, ครั้นเมื่อเธอ ท. มาแล้ว สู่เรือน แห่งตน นั่งแล้ว บนอาสนะ, ให้แล้ว ซึ่งโภชนะ ยังเธอ ท. ให้ฉันแล้ว.
อุปาสิกา อารามํ คนฺตฺวา, ภิกขู นิมนฺเตตฺวา, ทานํ สชฺเชตฺวา, เตสุ อตฺตโน เคหํ อาคนฺตฺวา อาสเน นิสินฺเนสุ, โภชนํ ทตฺวา เต โภเชสิ ฯ

๓๓๗. พ่อค้า ท. ไปแล้ว สู่สมุทร ด้วยเรือ, ครั้นเมื่อเรือนั้น ถึงแล้ว ซึ่งท่า แห่งเมือง, ไปแล้ว สู่ฝั่ง แห่งเมือง.
วาณิชา นาวาย สมุทฺทํ คนฺตฺวา, ตสฺส ธานิยา ติตฺถํ สมฺปตฺวา, ตสฺสา ตีรํ คจฺฉึสุ ฯ

๓๓๘. ชน ท. ครั้นฤดูฝน ถึงพร้อมแล้ว, นิมนต์แล้ว ซึ่งภิกษุ ท. ให้แสดง ซึ่ง ธรรม ในเรือน ของตน ของตน.
ชนา, วสฺเส สมปตฺเต, ภิกฺขู นิมนฺเตตฺวา , อตฺตโน อตฺตโน เคเห ธมฺมํ เทสาเปนฺติ.

๓๓๙. พระเถระ ท. ในกาลก่อน อยู่แล้ว สิ้นฤดูฝน ตลอดเดือน ท. ๓ ปวารณาแล้ว ย่อมเที่ยวไป สู่ที่จาริก.
ปุพฺเพ เถรา ตโย มาเส วสฺสํ วสิตฺวา, ปวาเรตฺวา, จาริกํ วิจรนฺติ ฯ

๓๔๐. คนพาล ทำแล้ว ซึ่งบาป, ครั้นเมื่อบาป หนาขึ้นแล้ว, ย่อมได้ ซึ่งผล แห่งมัน.
พาโล ปาปํ กตฺวา, ปาเป อุสฺสนฺเน, ตสฺส วิปากํ ลภติ ฯ

แปลมคธเป็นไทย ข้อ ๓๑๑-ข้อ ๓๒๐


แปลมคธเป็นไทย  ข้อ ๓๒๑-ข้อ ๓๓๐

๓๒๑. อญฺญตโร ภิกฺขุ อตฺตโน อุปชฺฌายํ อุปสงฺกมิตฺวา วนฺทิตฺวา อภิรูเป อาสเน นิสีทิตฺวา ปญฺหํ ปุจฺฉิ.
ภิกฺขุ อ. ภิกษุ อญญตโร รูปใดรูปหนึ่ง อุปสงกมิตฺวา เข้าไปหาแล้ว อุปชฺฌายํ ซึ่งพระอุปัชฌาย์ อตฺตโน ของตน วนฺทิตฺวา ไหว้แล้ว นิสีทิตฺวา นั่งแล้ว อาสเน บนอาสนะ ปฏิรูเป อันสมควร ปุจฉิ ถามแล้ว ปญหํ ซึ่งปัญหา ฯ

๓๒๒. โส ตสฺส ปญฺหํ กเถตฺวา ตํ อุยฺโยเชสิ.
โส อุปชฌาโย อ. พระอุปัชฌาย์นั้น กเถตฺวา บอกแล้ว ปญฺหํ ซึ่งปัญหา ตสฺส ภิกฺขุโน แก่ภิกษุนั้น อุยฺโยเชสิ ส่งไปแล้ว ตํ ภิกฺขุ ซึ่งภิกษุนั้น ฯ

๓๒๓. สูโท ตณฺฑุลํ โธวิตฺวา อุกฺขลิยํ ปกฺขิปิตฺวา อุทฺธนํ อาโรเปตฺวา, ภตฺเต ปกฺเก, โอตาเรสิ.
สูโท อ. พ่อครัว โธวิตฺวา ล้างแล้ว ตณฺฑุลํ ซึ่งข้าวสาร ปกฺขิปิตฺวา ใส่เข้าแล้ว อุกฺขลิยํ ในหม้อข้าว ทตฺวา ให้แล้ว อุทกํ ซึ่งน้ำ อาโรเปตฺวา ยกขึ้นแล้ว อุทฺธนํ สู่เตา, ภตฺเต ครั้นเมื่อภัต ปกฺเก สุกแล้ว, ปุคฺคลํ ยังบุคคล โอตาเรตสิ ให้ปลงลงแล้ว ฯ

๓๒๔. อมจฺโจ รญฺโญ นิเวสนํ คนฺตวา, ตสฺส กิจฺจํ กตฺวา, อตฺตโน เคหํ นิวตฺติ.
อมจฺโจ อ. อำมาตย์ คนฺตวา ไปแล้ว นิเวสนํ สู่พระราชวัง รญฺโญ ของพระราชา, กตฺวา กระทำแล้ว กิจฺจํ ซึ่งกิจ ตสฺส รญฺโญ ของพระราชานั้น, นิวตฺติ กลับแล้ว เคหํ สู่เรือน อตฺตโน ของตน ฯ

๓๒๕. สีโห มิคํ หนฺตฺวา, ตสฺส มํสํ ขาทติ.
สีโห อ. ราชสีห์ หนฺตฺวา ฆ่าแล้ว มิคํ ซึ่งเนื้อ, ขาทติ ย่อมเคี้ยวกิน มํสํ ซึ่งเนื้อ ตสฺส มิคสฺส ของเนื้อนั้น ฯ

๓๒๖. อุปาสกา อารามํ คนฺตฺวา, ทานํ ทตฺวา, สีลํ สมาทยิตฺวา, ธมฺมํ สุณนฺติ.
อุปาสกา อ. อุบาสก ท. คนฺตฺวา ไปแล้ว อารามํ สู่อาราม, ทตฺวา ให้แล้ว ทานํ ซึ่งทาน, สมาทยิตฺวา สมาทานแล้ว สีลํ ซึ่งศีล, สุณนฺติ ย่อมฟัง ธมฺมํ ซึ่งธรรม ฯ

๓๒๗. วาณิชา วิเทสา ภณฺฑานิ อาเนตฺวา, อปเณสุ วิกฺกีณนฺติ.
วาณิชา อ. พ่อค้า ท. อาเนตฺวา นำมาแล้ว ภณฺฑานิ ซึ่งภัณฑะ (สินค้า) ท. วิเทสา จากต่างประเทศ, วิกฺกีณนฺติ ย่อมขาย อาปเณสุ ในตลาด ท. ฯ

๓๒๘. อาจริโย, เวลาย สมฺปตฺตาย, อตฺตโน สิสฺสานํ โอวาทํ ทตฺวา, คพฺภํ ปวิสติ.
อาจริโย อ. อาจารย์, เวลาย ครั้นเมื่อเวลา สมฺปตฺตาย ถึงพร้อมแล้ว, ทตฺวา ให้แล้ว โอวาทํ ซึ่งโอวาท สิสฺสานํ แก่ศิษย์ ท. อตฺตโน ของตน, ปวิสติ ย่อมเข้าไป คพฺภํ สู่ห้อง ฯ

๓๒๙. ราชา ทิวเส ทิวเส อนฺเตปุรา นิกฺขมิตฺวา, อมจฺจานํ  สมาคเม นิสีทิตฺวา, อตฺตโน รฏฺเฐ  อุปฺปนฺนํ  กิจฺจํ วิจาเรติ.
ราชา อ. พระราชา นิกฺขมิตฺวา เสด็จออกแล้ว อนฺเตปุรา จาก ภายในแห่งบุรี, นิสีทิตฺวา ประทับนั่งแล้ว สมาคเม ในสมาคม อมจฺจานํ แห่งอำมาตย์ ท. , วิจาเรติ ย่อมพิจารณา กิจฺจํ ซึ่งกิจ อุปฺปนฺนํ อันเกิดขึ้นแล้ว รฏฺเฐ ในแว่นแคว้น อตฺตโน ของพระองค์ ทิวเส ทิวเส ในวันๆ ฯ

๓๓๐. โจรา รตฺติยํ วจริตฺวา, อรุเณ อุคฺคเต, อญฺญตรํ ฐานํ ปวิสิตฺวา สยนฺติ.

โจรา อ. โจร ท. วิจริตฺวา เที่ยวไปแล้ว รตฺติยํ ในกลางคืน, อรุเณ ครั้นเมื่ออรุณ 

อุคฺคเต ขึ้นไปแล้ว, ปวิสิตฺวา เข้าไปแล้ว ฐานํ สู่สถานที่ อญฺญตรํ แห่งใดแห่ง

หนึ่ง , สยนฺติ ย่อม นอน.

Followers

Flagcounter

free counters

Speedy

SplashDirectory.comFree Counter