Google

Friday, November 8, 2019

แปลมคธเป็นไทย ข้อ ๔๔๑- ข้อ ๔๕๐


แปลมคธเป็นไทย ข้อ ๔๔๑- ข้อ ๔๕๐

๔๔๑. เอกทิวสํ วิธุโร ภิกฺขุ เถรํ อุปสงฺกมิตฺวา กสฺส ปุตฺโต ภนฺเต อมฺหากํ สตฺถาติ ปุจฉิ. กปิลวตฺถสฺมึ สุทฺโธทนมหาราชสฺส อาวุโส ติ.
เอกทิวสํ ในวันหนึ่ง ภิกฺขุ อ. ภิกษุ วิธุโร ชื่อว่าวิธุระ อุปสงฺกมิตฺวา เข้าไปหาแล้ว เถรํ ซึ่งพระเถระ ปุจฉิ ถามแล้ว กสฺส ปุตฺโต อมฺหากํ สตฺถา อิติ ว่าดังนี้ ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ สตฺถา อ. พระศาสดา อมฺหากํ ของเรา ท. ปุตฺโต เป็นพระโอรส กสฺส ของใคร โหติ ย่อมเป็น ฯ เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว กปิลวตฺถุสฺมึ สุทฺโธทนมหาราชสฺส อาวุโส อิติ ว่าดังนี้ อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ สตฺถา อ. พระศาสดา อมฺหากํ ของเรา ท. ปุตฺโต เป็นพระโอรส สุทฺโธทนมหาราชสฺส ของพระมหาราชพระนามว่า สุทโธทนะ กปิลวตฺถุสมึ ในพระนครกบิลพัสดุ์ โหติ ย่อมเป็น ฯ

๔๔๒. กา ตสฺส มาตา ภนฺเตติ. มายา เทวี อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กา ตสฺส มาตา ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ กา อ. ใคร มาตา เป็นพระมารดา ตสฺส สตฺถุโน ของพระศาสดานั้น โหติ ย่อมเป็น ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว มายา เทวี อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ เทวี อ. พระเทวี มายา พระนามว่ามายา มาตา เป็นพระมารดา ตสฺส สตฺถุโน ของพระศาสดานั้น โหตุ ย่อมเป็น ฯ

๔๔๓. กตรสฺมึ วสฺเส โส ชาโต ภนฺเตติ. อิโต ปุพฺเพ ปณฺณรสวสฺสปญฺจสตาธิกาสุ ทวีสุ วสฺสสหสฺเสสุ อาวุโสติ. กตมิยํ ภนฺเต ติถิยนฺติ. วิสาขปุณฺณมีทิวเส อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว กตรสฺมึ ฯเปฯ ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส สตฺถา อ. พระศาสดานั้น ชาโต ประสูติแล้ว วสฺเส ในปี กตรสฺมึ ไหน ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว อิโต ปุพฺเพ ฯเปฯ วสฺสสหสฺเสสุ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส สตฺถา อ. พระศาสดานั้น ชาโต ประสูติแล้ว วสฺสสหสฺเสสุ ในพันแห่งปี ท. ทฺวีสุ สอง ปณฺณรสวสฺสปญฺจสตาธิเกสุ อันยิ่งด้วยร้อยห้าสิบแห่งปีสิบห้า ปุพฺเพ ในก่อน อิโต กาลกโต แต่กาลนี้ ฯ
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กตมิยํ ภนฺเต ติถิยํ อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส สตฺถา อ. พระศาสดานั้น ชาโต ประสูติแล้ว ติถิยํ ในดิถี กตมิยํ ไหน ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว วิสาขปุณฺณมีทิวเส อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส สตฺถา อ.พระศาสดานั้น ชาโต ประสูติแล้ว วิสาขปุณฺณมีทิวเส ในวันคือดิถีมีพระจันทร์อันเต็มแล้วด้วยฤกษ์ชื่อว่าวิสาขะ ฯ

๔๔๔. กตฺถ ภนฺเตติ. กปิลวตฺถุสส จ เทวทหสฺส จ อนฺตรา ลุมฺพินีวเน อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว กตฺถ ภนเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ สตฺถา อ. พระศาสดา ชาโต ประสูติแล้ว กตฺถ ฐาเน ในที่ไหนฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว กปิลวตฺถสฺส ฯเปฯ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ สตฺถา อ. พระศาสดา ชาโต ประสูติแล้ว ลุมฺพินีวเน ในป่าลุมพินี อนฺตรา ในระหว่าง กปิลวตฺถุสฺส จ แห่งพระนครกบิลพัสดุ์ด้วย เทวทหสฺส จ แห่งพระนครเทวทหะด้วย ฯ

๔๔๕. กสฺมา ปน ภนฺเต เทวี อตฺตโน นิเวสเน น วิชายิ? ตํ เม การณํ ทสฺเสถาติ. สา อาวุโส เทวี ปริปกฺกคพฺภา อตฺตโน นิวาสนฏฺฐานภูตํ เทวทหํ คนฺตุกามา, ราชานํ อาปุจฺฉิตฺวา ปริวาเรน คจฺฉนฺตี, ลุมพินิวนํ ปตฺวา , ตตฺถ กีฬิตุกามา ปาวิสิ, ตสฺสา กมฺมชวาตา จลึสุ, สา ตตฺถ วิชายีติ.
วิธุโร อ. ภิกฺษุชื่อวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว กสฺมา ฯเปฯ ทสฺเสถ อิติ ว่าดังนี้
(เลขใน) ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ เทวี อ. พระเทวี น วิยาชิ ไม่มีพระประสูติกาล(คลอด)แล้ว นิเวสเน ในนิเวสน์ อตฺตโน ของพระองค์ กสฺมา เพราะเหตุไร ตุมฺเห อ. ท่าน ทสฺเสถ ขอจงแสดง การณํ ซึ่งเหตุ ตํ นั้น เม แก่กระผม ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว สา อาวุโส ฯเปฯ ตตฺถ วิชายิ อิติ ว่าดังนี้
(เลขใน) อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ เมวี อ. พระเทวี สา นั้น ปริปกฺกคพฺภา ผู้มีครรภ์แก่รอบแล้ว อตฺตโน นิวาสนฏฺฐานํ เทวทหํ คนฺตุกามา ผู้ใคร่เพื่ออันไปสู่เมืองเทวทหะ อันเป็นสถานที่อยุ่อาศัยของพระองค์เป็นแล้ว อาปุจฉิตวา ทูลลาแล้ว ราชานํ ซึ่งพระราชา อาคจฺฉนฺตี ไปอยู่ ปริวาเรน ด้วยบริวาร ปตฺวา ถึงแล้ว ลุมฺพินิวนํ ซึ่งป่าลุมพินี ตตฺถ กีฬิตุกามา เป็นผู้ใคร่เพื่ออันเล่นในป่าลุมพินีนั้น หุตฺวา เป็น ปาวิสิ เสด็จเข้าไปแล้ว กมฺมชวาตา อ. ลมเกิดแล้วแต่กรรม ท. ตสฺสา เทวิยา แห่งพระนางเทวีนั้น จลึสุ ปั่นป่วนแล้ว สา เทวี อ. พระนางเทวีนั้น วิชายิ คลอด(มีพระประสูติกาล)แล้ว ตตฺถ ลุมพินิวเน ในป่าลุมพินีนั้น ฯ

๔๔๖. ตสฺส ทารกกาเล กึ นามํ กรึสุ ภนฺเตติ. สิทฺธตฺโถติ นามํ อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว ตสฺส ฯเปฯ ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ญาตกา อ. พระญาต ท. กรึสุ กระทำแล้ว กึ วจนํ ซึ่งคำอะไร นามํ ให้เป็นชื่อ ตสฺส สตฺถุโน แห่งพระศาสดานั้น ทารกกาเล ในกาลแห่งพระองค์เป็นเด็ก ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว สิทฺธตฺโถ ฯเปฯ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ญาตกา อ.พระญาติทั้งหลาย กรึสุ กระทำแล้ว วจนํ ซึ่งคำ สิทฺธตฺโถ อิติ ว่า อ. สิทธัตถะ ดังนี้ นามํ ให้เป็นชื่อ ตสฺส สตฺถุโน แห่งพระศาสดานั้น ทารกกาเล ในกาลแห่งพระองค์เป็นเด็ก ฯ

๔๔๗. กติวสฺสานิ โส คิหิภาเว ฐิโต ภนฺเตติ ฯ เอกูนตึส อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกฺษุ ชื่อว่าวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กติวสฺสานิ ฯเปฯ ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส สิทฺธตฺโถ อ. พระสิทธัตถะกุมาร ฐิโต ดำรงอยู่แล้ว คิหิภาเว ในความเป็นคฤหัสถ์ กติวสฺสานิ สิ้นปีเท่าไร ท.ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว เอกูนตึส อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส สิทฺธตฺโถ อ. พระสิทธัตถะกุมารนั้น ฐิโต ดำรงอยู่แล้ว คิหิภาเว ในความเป็นแห่งคฤหัสถ์ วสฺสานิ สิ้นปี ท. เอกูนตึส สามมิบหย่อนหนึ่ง ฯ

๔๔๘. กึ นุ โข โส ภนฺเต ฆราวาสํ อชฺฌาวสนฺโต ทารภรณํ กโรติ อุทาหุ โนติ. กโรติ อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว กึ นุ โข ฯปฯ อุทาหุ โน อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส สิทธตฺโถ อ. พระสิทธัตถะกุมารนั้น อชฺฌาวสนฺโต เมื่ออยู่ครอบครอง ฆราวาสํ ซึ่งฆราวาส กโรติ ย่อมกระทำ ทารภรณํ ซึ่งการเลี้ยวดูภรรยา กึ นุ โข หรือหนอแล อุทาหุ หรือว่า โส สิทธัตถะ อ. พระสิทธัตถะกุมารนั้น น กโรติ ย่อมไม่กระทำ ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว กโรติ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส สิทฺธตฺโถ อ. พระสิทธัตถะกุมารนั้น กโรติ ย่อมกระทำ ฯ

๔๔๙. กา ตสฺส เทวี ภนฺเตติ. ยโสธรา นาม อาวุโส สุปฺปพุทฺธสฺส โกลิยสฺส ธีตาติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กา ฯเปฯ ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ เทวี อ. พระเทวี ตสฺส สิทฺธตฺถสฺส ของพระสิทธัตถะกุมารนั้น กา ชื่ออะไรฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว ยโสธรา นาม ฯเปฯ ธีตา อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ เทวี อ. พระเทวี ตสฺส สิทฺธตฺถสฺส ของพระสิตธัตถะกุมารนั้น ยโสธรา นาม ชื่อว่า พระนางยโสธรา ธีตา เป็นพระธิดา โกลิยสฺส ของพระเจ้าโกลิยะ สุปฺปพุทฺธสฺส พระนามว่า สุปปพุทธะ โหติ ย่อมเป็น ฯ

๔๕๐. อตฺถิ ปน ภนฺเต ตสฺส ปุตฺโตติ. อามาวุโสติ. โก นาม โส ภนฺเตติ. ราหุโล นามาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว อตฺถิ ฯเปฯ ปุตฺโต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ ปุตฺโต อ. พระโอรส ตสฺส สิทฺธตฺถสฺส ของพระสิทธัตถะกุมารนั้น อตฺถิ มีอยู่หรือ ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว อามาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อาม เออ ปุตฺโต อ. พระโอรส ตสฺฺส สิทฺธตฺถสฺส ของพระสิทธัตถะกุมารนั้น อตฺถิ มีอยู่ ฯ
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว โก นาม โส ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส ปุตฺโต อ. พระโอรสนั้น โก นาม ชื่ออะไร ฯ
เถโร อง พระเถระ อาห กล่าวแล้ว ราหุโล นามาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส ปุตฺโต อ. พระโอรสนั้น ราหุโล นาม พระนามว่าราหุล ฯ

แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๔๓๑-ข้อ ๔๔๐


แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๔๓๑-ข้อ ๔๔๐

๔๓๑.ลำดับนั้น พระเถระ สั่งแล้ว ซึ่งภิกษุหนุ่ม รูปหนึ่ง ว่า เจ้าจงไป, จงบอก แก่สุหทะ ว่า ท่าน จงปูลาดแล้ว ซึ่งเสนาสนะ อันหนึ่ง แสดง (ให้) แก่ภิกษุ ผู้มาใหม่.
อถ เถโร เอกํ ทหรภิกฺขุ คจฺฉ, สุหทสฺส, เอกํ เสนาสนํ ปญฺญาเปตฺวา อาคนฺตุกสฺส ภิกฺขุโน ทสฺเสหีติ, อาโตเจหีติ อาณาเปสิ ฯ

๔๓๒. ภิกษุ นั้น รับแล้ว ซึ่งคำ แห่งพระเถระ นั้น ว่า อย่างนี้ ท่านผู้เจริญไปแล้ว บอกแล้ว แก่สุหทภิกษุ.
โส ตสฺส วจนํ เอวํ ภนฺเตติ สมฺปฏิจฺฉิตฺวา คนฺตฺวา สุหทภิกฺขุโน อาโรเจสิ ฯ
๔๓๓. สุหทภิกษุ นั้น ปูลาดแล้ว ซึ่งเสนาสนะ มาแล้ว สู่สำนัก แห่งพระเถระ บอกแล้ว แก่ท่านว่า เสนาสนะ อันข้าฯ ปูลาดแล้ว ครั้นเมื่อคำว่าถ้าอย่างนั้น เจ้า จงนำไปแล้ว ซึ่งภิกษุ นี้ แสดง(ให้) ซึ่งเสนาสนะอันพระเถระ พูดแล้ว ได้ทำแล้ว อย่างนั้น.
โส สุหทภิกฺขุ เสนาสนํ ปญฺญาเปตฺวา เถรสฺส สนฺติกํ อาคนฺตฺวา ตสฺส มยา เสนาสนํ ปญฺญตฺตนฺติ อาโรเจตฺวา เตนหิ เอตํ ภิกฺขุ เนตฺวา เสนาสนํ ทสฺเสหีติ วุตฺเต เอวมกาสิ ฯ

๔๓๔. วิธุรภิกฺขุ ถามแล้ว ซึ่งสุหทภิกษุ ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ กติกา ในวัดนี้ มี(หรือ). มี ท่านผู้มีอายุ.
วิธุรภิกฺขุ สุหทภิกฺขุอตฺถิ อิมสฺมึ อาวาเส กติกา ภนฺเตติ ปุจฺฉิฯ อตฺถิ อาวุโสติ ฯ

๔๓๕. กติกา อะไร ท่านผู้มีอายุ? “ “ ครั้นเมื่อระฆัง ตีแล้ว ภิกษุ ท. ประชุมกันแล้ว นมัสการ ซึ่งพระรัตนตรัย ในพระวิหาร ในเช้าด้วย ในเย็นด้วย. ภิกษุ ท. ด้วย สามเณร ท. ด้วย ไปแล้ว สู่ที่บำรุง แห่งพระเถระ ฟัง ซึ่งโอวาท อันท่านให้แล้ว. ครั้นเมื่อวันธัมมัสสวนะ ถึงพร้อมแล้ว, คฤหัสถ์และบรรพชิต ท. ประชุมกันแล้ว ในโรงธรรม. ภิกษุ รูปหนึ่ง แสดง ซึ่งธรรม, ชนอันเหลือ ฟัง ซึ่งธรรมนั้น, ครั้นเมื่อวันอุโบสถ ถึงพร้อมแล้ว, ภิกษุ ท. ทั้งหมด ย่อมทำ ซึ่งอุโบสถ ครั้นเมื่อดิถีปวารณา ถึงพร้อมแล้ว, ย่อมทำ ซึ่งปวารณา. กติกา มีอย่านี้เป็นต้น.
กา กติกา อาวุโสติ ฯ คณฺฑิยา ปหตาย, ภิกฺขู สนฺนิปติตฺวา ปุพพณฺเห เจว สายณฺเห จ วิหาเร รตนตฺตยํ นมสฺสนฺติ, ภิกฺขู เจว สามเณรา จ เถรสฺส อุปฏฺฐานํ คนฺตฺวา เตน ทินฺนํ โอวาทํ สุณนฺติ, ธมฺมสฺสวนทิวเส สมฺปตฺเต, คิหิปพฺพชิตา ธมฺมสาลายํ สนฺนิปตึสุ, เอโก ภิกฺขุ ธมฺมํ เทเสติ, อวเสสชโน ตํ สุณาติ, อุโปสถทิวเส สมฺปตฺเต, สพฺเพ ภิกฺขู อุโปสถํ กโรนฺติ, ปวารณาย สมฺปตฺตาย, ปวารณํ กโรนฺตีติ เอวมาทิกา กติกา อาวุโสติ ฯ

๔๓๖. ในเย็น วิธุรภิกษุ ไปแล้ว สู่สำนัก แห่งพระเถระ ขอแล้ว ซึ่งนิสสัย. พระเถระ ได้ให้แล้ว.
สายํ วิธุรภิกฺขุ เถรสฺส สนฺติกํ คนฺตฺวา นิสฺสยํ ยาจิ ฯ เถโร อทาสิฯ

๔๓๗. จำเติม แต่กาลนั้น วิธุรภิกษุ ได้ทำแล้ว ซึ่งอาจริยวัตร มีให้น้ำบ้วนปากเป็นต้น แก่พระเถระ.
ตโต ปฏฺฐาย วิธุรภิกฺขุ เถรสฺส มุโขทกทานิกํ อาจริยวตฺตมกาสิ ฯ

๔๓๘. พระเถระ ยังความการุญ ให้เกิด ในเธอ.
เถโร ตสฺมึ การุญฺญํ อุปฺปาเทสิ ฯ

๔๓๙. เธอ เป็นที่รัก แม้แห่งภิกษุ ท. อื่น.
โส อญฺเญสํ ภิกฺขูนมฺปิ ปิโย โหติ ฯ

๔๔๐. เธอ เรียนอยู่ ซึ่งธรรมด้วย ซึ่งวินัยด้วย ในสำนัก แห่งพระเถระ ทุกวันๆ.
โส เทวสิกํ เถรสฺส สนฺติเก ธมฺมญฺจ วินยญฺจ อุคฺคณฺหาติ ฯ

หมายเหตุ ต้องกราบขออภัยเป็นอย่างสูงที่ไม่สามารถใช้คอมพิวเตอร์เขียนภาษาบาลี คำว่า อุง หุง เป็นต้นได้ เนื่องจากกระผมมีความรู้ทางด้านเทคโนโลยีการใช้คอมฯที่ค่อนข้างต่ำ แม้ว่าจะได้พยายามใช้โปรแกรม E-pitaka ของท่านพระคึกฤทธิ์แห่งวัดนาป่าพงมาช่วยแล้ว แต่เมื่อโพสต์ลง ณ facebook ปรากฏว่า ตัว อุง เช่น ขุง ตุง เป็นต้น ก็หายไปอยู่ดี
หมายเหตุทับหมายเหตุ เขียนแก้ได้แล้ว ตามคำแนะนำของท่าน นาวาเอก (พิเศษ) ทองย้อย แสงสินชัย
ทั้งนี้ให้เอาคำที่พิมพ์ไม่ได้ใน Microsoft Word มาพิมพ์ในหน้า facebook เช่น ภิกฺขุํ อาสุํ จะเห็นว่าเขียนได้

อุภัยพากยปริวัตน์ ภาคที่ ๒ แปลมคธเป็นไทย ข้อ ๔๒๑- ข้อ ๔๓๐


อุภัยพากยปริวัตน์ ภาคที่ ๒
แปลยกศัพท์

ข้อ ๔๒๑- ข้อ ๔๓๐
๔๒๑. เอโก ภิกฺขุ ญาโณทยาวาสํ คนฺตฺวา ทนฺตมิตฺตํ นาม เถรํ อุปสงฺกมิตฺวา วนฺทิตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.
ภิกฺข อ. ภิกษุ เอโก รูปหนึ่ง คนฺตฺวา ไปแล้ว ญาโณทยาวาสํ สู่อาวาสชื่อญาโณทัย อุปสงฺกมิตฺวา เข้าไปหาแล้ว เถรํ ซึ่งพระเถระ ทนฺธมิตฺตํ นาม ชื่อว่าทันธมิตตะ วนฺทิตฺวา ไหว้แล้ว นิสีทิ นั่งแล้ว เอกมนฺเต ณ ที่สุดส่วนข้างหนึ่ง(ที่สมควรข้างหนึ่ง) ฯ

๔๒๒ อถ นํ เถโร กุโต อาคโตสิ อาวุโสติ ปุจฺฉิ. สมฺโมหารามโต ภนฺเตติ.
อถ ครั้งนั้น เถโร อ. พระเถระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กุโต อาคโตสิ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้ นํ ภิกฺขุ ซึ่งภิกษุนั้น
อาโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ตฺวํ อ. ท่าน อาคโต เป็นผู้มาแล้ว กุโต แต้ที่ไหน อสิ ย่อมเป็น. ฯ
โส ภิกฺขุ อ. ภิกษุนั้น อาห กล่าวแล้ว สมฺโมหารามโต ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อหํ อ.กระผม อาคโต เป็นผู้มาแล้ว สมฺโมหารามโต จากอารามชื่อว่าสัมโมหะ อมฺหิ ย่อมเป็น ฯ

๔๒๓. กิมตฺถํ อิธาคจฺฉติ อาวุสติ. วสิตุ ภนฺเตติ.
โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปุจฺฉิ ถามแล้ว กิมตฺถํ อิธาคจฺฉสิ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ตฺวํ อ. ท่าน อาคจฺฉสิ ย่อมมา อิธ ฐาเน ในที่นี้ กมตฺถํ เพื่อประโยชน์อะไรฯ
โส ภิกฺขุ อ.ภิกษุนั้น อาห กล่าวแล้ว วสิตุ ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อหํ อ. กระผม อาคจฺฉามิ ย่อมมา อิธ ฐาเน ในที่นี้ วสิตุ เพื่ออันอยู่ ฯ

๔๒๔. กึ ปโยชนํ ปสฺสนฺโต, อิธ วสิตุ อิจฺฉติ อาวุโสติ. ตตฺถาหํ ภนฺเต มหาเถรสฺส กิตฺตึ อสฺโสสึ มหาเถโร ติปิฏกธโร อตฺตโน สิสฺสานํ วิตฺถาเรน ตํ วาเจสีติ, อถาหํ จินเตสึ มมาปิ อิธ วสโต มหาเถโร วาเจยฺย, เอวมหํ อุคฺคเหตุ ลภิสฺสามีติ, อิมํ โข อหํ ภนฺเต ปโยชนํ ปสฺสนฺโต อิธ วสิตุ อิจฺฉามีติ.
โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปุจฺฉิ ถามแล้ว กึ ปโยชนํ ฯเปฯ อิจฺฉติ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ตฺวํ อ. ท่าน ปสฺสนฺโต เห็นอยู่ ปโยชนํ ซึ่งประโยชน์ กึ อะไร อิจฺฉสิ ย่อมปรารถนา วสิตุ เพื่ออันอยู่ อิธ ฐาเน ในที่นี้ฯ

โส ภิกฺขุ อ. ภิกฺษุนั้น อาห กล่าวแล้ว ตตฺถาหํ ภนฺเต ฯเปฯ วสิตุ อิจฺฉามี อิติ ว่าดังนี้
(เลขใน) ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อหํ อ. กระผม อสฺโสสึ ได้ฟังแล้ว กิตฺตึ ซึ่งกิตติศัพท์ มหาเถรสฺส ของพระมหาเถระ ตตฺถ ฐาเน ในที่นั้น มหาเถโร ฯเปฯ วาเจสิ อิติ ว่าดังนี้ อถ ภาเว ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น สนฺเต มีอยู่ อหํ อ. กระผม จินเตสึ คิดแล้ว มมาปิ อิธ ฯเปฯ อุคฺคเหตุ ลภิสฺสามิ อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ.กระผม ปสฺสนฺโต เห็นอยู่ ปโยขนํ ซึ่งประโยชน์ อิมํ โข นี้แล อิจฺฉามิ ย่อมปรารถนา วสิตุ เพื่ออันอยู่ อิธ ฐาเน ในที่นี้ ฯ

(เลขในท่อนที่ ๑) มหาเถโร อ. พระมหาเถระ ติปิฏกธโร ผู้ทรงไว้ซึ่งพระไตรปิฎก วาเจสิ บอกแล้ว ตํ ติปิฏกํ ซึ่งพระไตรปิฎกนั้น สิสฺสานํ แก่ศิษย์ ท. อตฺตโน ของตน วิตฺถาเรน โดยพิสดาร
(เลขในท่อนที่ ๒) มมาปิ แม้เมื่อเรา วสโต อยู่ๆ อิธ ฐาเน ในที่นี้ มหาเถโร อ. พระมหาเถระ วาเจยฺย พึงบอก, เอวํ ภาเว ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนี้ สนฺเต มีอยู่ , อหํ อ. กระผม ลภิสฺสามิ จักได้ อุคฺคเหตุ เพื่ออันเรียน ฯ

๔๒๕. โก นาม ตฺวํ อาวุโสติ. วิธุโร ภนฺเตติ.
โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปุจฺฉิ ถามแล้ว โก นาม ตฺวํ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ตฺวํ อ. ท่าน โก นาม ชื่ออะไร อสิ ย่อมเป็น ฯ
โส ภิกฺขุ อ. ภิกษุนั้น อาห กล่าวแล้ว วิธุโร ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อหํ อ. กระผม วิธุโร นาม ชื่อว่าวิธุระ อมฺหิ ย่อมเป็น ฯ

๔๒๖. กติวสฺโสสิ ตฺวํ วิธุราติ. ปญจวสฺโสหํ ภนฺเตติ.
โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปุจฺฉิ ถามแล้ว กติวสฺโสสิ ตฺวํ วิธุร อิติ ว่าดังนี้
วิธุระ ดูก่อนวิธุระ ตฺวํ อ. ท่าน กติวสฺโส เป็นผู้มีพรรษาเท่าไร อสิ ย่อมเป็น ฯ
โส วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระนั้น อาห กล่าวแล้ว ปญฺจวสฺโสมฺหิ ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อหํ อ.กระผม ปญฺจวสฺโส เป็นผู้มีภรรษา ๕ อมฺหิ ย่อมเป็นฯ

๔๒๗. โก นาม เต อุปชฺฌาโยติ, “มิตฺตทูโร นาม เถโร ภนฺเตติ.
โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปุจฺฉิ ถามแล้ว โก นาม เต อุปชฺฌาโย อิติ ว่าดังนี้
อุปชฺฌาโย อ. พระอุปัชฌาย์ เต ของท่าน โก นาม ชื่ออะไร โหติ ย่อมเป็น?
โส วิธุโร อ.ภิกษุชื่อว่าวิธุระนั้น อาห กล่าวแล้ว มิตฺตทูโร นาม เถโร ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ เถโร อ. พระเถระ มิตฺตทูโร นาม ชื่อว่ามิตตทูระ อุปัชฌาโย เป็นพระอุปัชฌาย์ เม ของกระผม โหติ ย่อมเป็น ฯ

๔๒๘. สุทฺธิปณฺณํ เต อานีตนฺติ. อาม ภนฺเตติ.
โส เถโร อ. พระเถรนั้น ปุจฺฉิ ถามแล้ว สุทฺธิปณฺณํ เต อานีตํ อิติ ว่าดังนี้
สุทฺธิปณฺณํ อ. หนังสือสุทธิ เต อันท่าน อานีตํ นำมาแล้วหรือ ฯ
โส วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระนั้น อาห กล่าวแล้ว อาม ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ช้าแต่ท่านผู้เจริญ อาม ขอรับ สุทฺธิปณฺณํ อ. หนังสือสุทฺธิ เม อันกระผม อานีตํ นำมาแล้ว ฯ

๔๒๙. เตนหิ ตํ อาหราติ. โส ตสฺส สุทฺธิปณฺณํ ทสฺเสสิ.
โส เถโร อ. พระเถระนั้น อาห กล่าวแล้ว เตนหิ ตํ อาหร อิติ ว่าดังนี้
เตนหิ ถ้าเช่นนั้น ตฺวํ อ. ท่าน อาหร จงนำมา ตํ สุทฺธิปณฺณํ ซึ่งหนังสือสุทธินั้นฯ
โส วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระนั้น ทสฺเสสิ แสดงแล้ว สุทฺธิปณฺณํ ซึ่งหนังสือสุทธิ ตสฺส เถรสฺส แก่พระเถระนั้นฯ

๔๓๐. เถโร ตํ โอโลเกตฺวา เตนหิ ยถาสุขํ วสาหิ วิธุราติ อาห.
เถโร อ. พราะเถระ โอโลเกตฺวา ตรวจดูแล้ว ตํ สุทฺธิปณฺณํ ซึ่งหนังสือสุทธินั้น อาห กล่าวแล้ว เตนหิ ฯเปฯ วิธุร อิติ ว่าดังนี้
วิธุร ดูก่อนท่านวิธุระ เตนหิ ถ้าเช่นนั้น ตฺวํ อ. ท่าน วสาหิ จงอยู่ ยถาสุขํ ตามความสุขอย่างไร ฯ

แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๔๑๖-ข้อ ๔๒๐


แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๔๑๖-ข้อ ๔๒๐

๔๑๖. อันผู้ให้ ซึ่งทาน ชวนแล้ว แม้ซึ่งผู้อื่น ท. ให้ ย่อมควร.
ทานํ เทนฺเตน อญฺเญปิ สมาทเปตฺวา ทาตุํ วฏฺฏติ.

๔๑๗. ความได้ ซึ่งวิทยา ประเสริฐกว่า แต่ความได้ ซึ่งทรัพย์.
วิชฺชาย ลภนํ ธนสฺส ลภนโต วรํ ฯ

๔๑๘. ความลุกขึ้นแล้ว กินแล้ว ซึ่งข้าว นอนหลับ ตลอดวัน ทั้งสิ้น ดีกว่า แต่ความทำ ซึ่งบาป.
ปาปสฺส กรณโต อุฏฺฐาย ภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา สกลํ ทิวสํ นิปชฺชิตฺวา นิทฺทายนํ สาธุตรํ ฯ

๔๑๙. อันผู้ทำ ซึ่งบุญ ยังสันดาน ของตน ให้หมดจดแล้ว จึงทำ ย่อมควร.
ปุญฺญกาเรน อตฺตโน สนฺตานํ โสธาเปตฺวา กาตุํ วฏฺฏติ.

๔๒๐.ความเข้าไปเสพแล้ว ซึ่งสัตบุรุษ ฟังแล้ว ซึ่งธรรม ของท่าน ทำในใจแล้ว โดยแยบคาย ประพฤติ ซึ่งธรรม ย่อมเป็นไปเพื่อความเจริญ.
สปฺปุริสํ อุปสํเสวิตฺวา ตสฺส ธมฺมํ สุตฺวา โยนิโส มนสิกริตฺวา ธมฺมสฺส จรณํ วุฑฺฒิยา สํวตฺตติ ฯ

อุภัยพากยปริวัตน์ ภาคที่ ๑ จบ

แปลมคธเป็นไทย ข้อ ๔๑๑-ข้อ ๔๑๕

แปลมคธเป็นไทย  ข้อ ๔๑๑-ข้อ ๔๑๕


๔๑๑. เอโก นวโก ภิกฺขุ อุปชฺฌายํ อุปสงฺกมิตฺวา วนฺทิตฺวา นิสีทิตฺวา กติ ภนฺเต อิมสฺมึ สาสเน ธุรานีติปุจฺฉิ. คนถธุรํ วิปสฺสนาธุรนฺติ ทฺว ธุรานิ ภิกฺขูติ. กตมํ ปน ภนฺเต คนฺถธุรํ, กตมํ วิปสฺสนาธุรนฺติ. ติปิฏกํ อุคฺคเหตฺวา ตสฺส ธารณํ คนฺถธุรํ นาม, อตฺตภาเว ขยวยํ ปฏฺฐเปจตฺวา ตีณิ ลกฺขณานิ อาโรเปตฺวา สงฺขารานํ สมฺสสนํ วิปสฺสนาธุรํ นาม ภิกฺขูติ.
ภิกฺขุ อ. ภิกษุ นวโก ผู้ใหม่ เอโก รูปหนึ่ง อุปสงฺกมิตฺวา เข้าไปหาแล้ว อุปชฺฌายํ ซึ่งพระอุปัชฌาย์ วนฺทิตฺวา ไหว้แล้ว นิสีทิตฺวา นั่งแล้ว ปุจฺฉิ ถามแล้ว กติ ภนฺเต อิมสฺมึ สาสเน ธุรานิ อิติ ว่าดังนี้ (เลขใน) ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ธุรานิ อ. ธุระ ท. สาสเน ในพระศาสนา อิมสฺมึ นี้ กติ เท่าไร ฯ

โส อุปชฺฌาโย อ. พระอุปัชฌาย์นั้น อาห กล่าวแล้ว คนฺถธุรํ ฯเปฯ ภิกฺขุ อิติ ว่าดังนี้(เลขใน) ภิกฺขุ ดูกรภิกฺขุ ธุรานิ อ. ธุระ ท. เทฺว สอง อิติ คือ คนฺถธุรํ อ.คันถธุระ วิปสฺสนาธุรํ อ. วิปสฺสนาธุระ ฯ
โส ภิกฺขุ อ. ภิกษุนั้น ปุจฉิ ถามแล้ว กตมํ ปน ฯเปฯ วิปสฺสนาธุรํ อิติ ว่าดังนี้ (เลขใน) ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ คนฺถธุรํ อ. คันถธุระ กตมํ เป็นไฉน วิปสฺสนาธุรํ อ. วิปัสสนาธุระ กตมํ เป็นไฉน ฯ
โส อุปชฺฌาโย อ. พระอุปัชฌาย์นั้น อาห กล่าวแล้ว ติปิฏกํ อุคฺคเหตฺวา ฯเปฯ วิปสฺสนาธุรํ นาม ภิกฺขุ อิติ ว่าดังนี้(เลขใน) ภิกฺขุ ดูกรภิกษุ ติปิฏกํ อุคฺคเหตฺวา ตสฺส ติปิฏกสฺส ธารณํ อ. อันเรียนเอา ซึ่งพระไตรปิฎกแล้ว ทรงไว้ ซึ่งพระไตรปิฎกนั้น คันถธุรํ นาม ชื่อว่าคันถธุระ, อตฺตภาเว ขยวยํ ปฏฺฐเปตฺวา ตีณิ ลกฺขณานิ อาโรเปตฺวา สงฺขารานํ สมฺมสนํ อ. อันกำหนดซึ่งความสิ้นไปและความเสื่อมไปในอัตตภาพแล้วยกขึ้นสู่ลักษณะ ท. ๓ แล้วพิจารณาซึ่งสังขาร ท. วิปสฺสนาธุรํ นาม ชื่อว่า วิปัสสนาธุระ ฯ

๔๑๒. เอวํ ปริตฺตเกน กมฺเมน เอวรูปํ สมฺปตฺตึ ลภิตฺวา อิทานิ มยา ปมชฺชิตุ น วฏฺฏติ.
เอวํ ปริตฺตเกน กมฺเมน เอวรูปํ สมฺปตฺตึ ลภิตฺวา มยา ปมชฺชิตุ อ. อันๆเราได้ซึ่งสมบัติมีอย่างนี้เป็นรูป ด้วยกรรมนิดหน่อยอย่างนี้ แล้วประมาท อิทานิ ในกาลนี้ น วฏฺฏติ ย่อมไม่ควรฯ
๔๑๓. อตฺถิ ภนฺเต ทานํ อทตฺวา สีลํ อสมาทยิตฺวา สจฺจมตฺตํ รกฺขิตฺวา สคฺคสฺส คมนํ?
ภนฺเต ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทานํ อทตฺวา สีลํ อสมาทยิตฺวา สจฺจมตฺตํ รกฺขิตฺวา สคฺคสฺส คมนํ อ. อันไม่ให้ซึ่งทาน ไม่สมาทานซึ่งศีล รักษา ซึ่งกรรม สักว่าความสัตย์แล้ว ไปสู่สวรรค์ อตฺถิ มีอยู่หรือ?

๔๑๔. ปฐวิยา เอกรชฺเชน สคฺคสฺสส คมเนน วา
สพฺพโลกาธิปจฺเจน โสตาปตฺติผลํ วรํ.
โสตาปตฺติผลํ อ. โสดาปัตติผล วรํ ประเสริฐกว่า ปฐวิยา เอกรชฺเชน วา กว่าความเป็นพระราชาเอกในแผ่นดินหรือ สคฺคสฺส คมเนน วา หรือว่ากว่าความไปสู่สวรรค์ สพฺพโลกาธิปจฺเจน วา หรือว่ากว่าความเป็นอธิบดีในโลกทั้งปวง ฯ

๔๑๕. สพฺปาปสฺส อกรณํ กุสลสฺสูปสมฺปทา
สจิตฺตปริโยทปนํ เอตํ พุทฺธาน สาสนํ.
เอตํ ติวิธกมฺมํ อ.กรรมมี ๓ อย่างนี้ สพฺพปาปสฺส อกรณํ คือ อ. อันไม่กระทำ ซึ่งบาปทั้งปวง กุสลสฺส อุปสมฺปทา คือ อ. อันยังกุศลให้ถึงพร้อม สจิตฺตปริโยทปนํ อ. อันยังจิตของตนให้ผ่องแผ้ว สาสนํ เป็นคำสั่งสอน พุทฺธานํ ของพระพุทธเจ้า ท. โหติ ย่อมเป็น ฯ

แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๔๐๖-ข้อ ๔๑๐.


แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๔๐๖-ข้อ ๔๑๐.
๔๐๖.ในสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาค ตรัสเรียกมาแล้ว ซึ่งภิกษุ ท. ประทานแล้ว ซึ่งโอวาท ว่า แน่ะภิกษุ ท. ท่าน ท. เป็นผู้รับมฤดก ของเรา โดยธรรม เถิด, จงอย่า เป็นผู้รับมฤดก ของเรา โดยอามิส เลย.
เอกสฺมึ สมเย ภควา ภิกฺขู อามนฺเตตฺวา ธมฺเมน ภิกฺขเว มม ทายชฺชา หุตฺวา มา อามิเสเนว มม ทายชฺชา โหถาติโอวาทํ อทาสิ ฯ

๔๐๗. ใครๆ ไม่พึงดูหมิ่น ซึ่งบาป อย่างนี้ ว่า บาป มีประมาณน้อย อันเรา ทำแล้ว, เมื่อไร มัน จักให้ ซึ่งผล แก่เรา.
โกจิ อปฺปมตฺตกํ เม ปาปํ กตํ, กทา เม เอตํ วิปจฺจิสฺสตีติเอวํ ปาปํ นาวชาเนยฺย ฯ

๔๐๘. วันหนึ่ง อนาถปิณฑิกะ คฤหบดี ไปแล้ว สู่สำนัก แห่งพระศาสดา เป็นผู้ อันท่าน ตรัสถามแล้ว ว่า แน่ะคฤหบดี ก็ ทาน ในตระกูล อันท่าน ยังให้อยู่หรือ? ทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ขอรับ ก็แต่ว่า ข้าพระพุทธเจ้า ไม่อาจ เพื่อจะทำ ให้เป็นของประณีต.
เอกทิวสํ อนาถปิณฺฑิโก สตฺถุ สนฺติกํ คนฺตฺวา เตน ทียติ ปน เต คหปติ กุเล ทานนฺติปุฏฺโฐ อาม ภนฺเต. ปณีตํ ปน กาตุ น สกฺโกมีติอาห.

๔๐๙. พระศาสดา เมื่อทรงแสดง แก่เขา ว่า ทาน ไม่ ชื่อว่าประณีต ในเพราะไทยธรรม ประณีตจึงตรัสแล้ว ว่า แน่ะคฤหบดี เมื่อจิต เป็นของประณีต ทาน ที่ให้แล้ว ชื่อว่า เป็นทาน เศร้าหมอง ไม่มี; เหตุนั้น ท่าน อย่าคิดแล้ว ว่า ทาน ของเรา เศร้าหมอง.
สตฺถา ตสฺส น ปณีเต เทยฺยธมฺเม ปณีตํ นาม ทานนฺติเทนฺโต, “คหปติ จิตฺตสฺมึ ปณีเต สติ, ทินฺนทานํ ลูขํ นาม นตฺถิ, ตสฺมา ลูขํ เม ทานนฺติมา จินฺตยีติ อาห ฯ

๔๑๐. คนผู้อยู่ครอง ซึ่งเรือน พึงแบ่ง โภคะ โดยส่วน ท. ๔ , พึงบริโภค ซึ่งส่วน อันหนึ่ง, พึงประกอบ ซึ่งการงาน ด้วยส่วน ท. ๒, พึงเก็บไว้ ซึ่งส่วนที่ ๔ ด้วยคิดว่า เมื่ออันตราย เกิดขึ้น เรา จักได้บริโภค.
จตูหิ โกฏฺฐาเสหิ ฆราวาโส โภคํ วิภชิตฺวา, เอกํ ปริภุญฺชิตฺวา, ทวีหิ กมฺมนฺตํ โยเชตฺวาอนฺตรายสฺส อุปฺปนฺนสฺส ปริโภคํ ลภิสฺสามีติ จตุตฺถํ นิสาเมยฺยฯ

แปลมคธเป็นไทย ข้อ ๔๐๑- ข้อ ๔๐๕


แปลมคธเป็นไทย ข้อ ๔๐๑- ข้อ ๔๐๕
๔๐๑. อมฺหากํ สตฺถา มหนฺเตน อุตฺสาเหน เทวมนุสฺเสหิ กตํ สกฺการํ ทิสวา อานนฺทตฺเถรํ อามนฺตฺวา โย โข อานนฺท ตาทิเสนปิ สกฺกาเรน ตถาคตํ ปูเชติ, น โส ปรมาย ปูชาย ตถาคตํ ปูเชติ นาม, โย จ โข อานนฺท ตถาคเตน ทินฺนํ โอวาทํ กโรติ, โส ปรมาย ปูชาย ตถาคตํ ปูเชติ นามาติ อาห.

สตฺถา อ. พระศาสดา อมฺหากํ ของเรา ท. ทิสฺวา ทอดพระเนตรแล้ว สกฺการํ ซึ่งสักการะ เทวมนุสฺเสหิ กตํ อันๆเทวดาและมนุษย์ ท. กระทำแล้ว อุตฺสาเหน โดยความอุตสาหะ ใหญ่ อามนฺเตตฺวา ตรัสเรียกมาแล้ว โย โข อาทนฺท ฯเปฯ ปูเชติ นาม อิติ ว่า ดังนี้(เลขใน) อานนฺท ดูกรอานท์ โย โข ปุคฺคโล อ. บุคคลใดแล ปูเชติ ย่อมบูชา ตถาคตํ ซึ่งตถาคต สกฺกาเรน ด้วยสักการะ ตาทิเสนปิ แม้เช่นนั้น โส ปุคฺคโล อ. บุคคลนั้น ปูเชติ นาม ชื่อว่าย่อมบูชา ตถาคตํ ซึ่งพระตถาคต ปูชาย ด้วยอันบูชา ปรมาย อย่างยิ่ง น หามิได้, อานนฺท ดูกรอานนท์ จ ส่วนว่า โย โข ปุคฺคโล อ.บุคคลใดแล กโรติ ย่อมกระทำโอวาทํ ซึ่งโอวาท ตถาคเตน ทินฺนํ อันๆพระตถาคต ให้แล้ว โส ปุคฺคโล อ. บุคคลนั้น ปูเชติ นาม ชื่อว่าย่อมบูชา ตถาคตํ ซึ่งพระตถาคต ปูชาย ด้วยอันบูชา ปรมาย อย่างยิ่ง ฯ

๔๐๒. อสฺสุตวโต ภิกฺขเว ปุถุชฺชนสฺส อุปฺปชฺชติ ลาโภ, โส น อิติ ปฏิสญฺจิกฺขติ อุปปนฺโน โข เม อยํ ลาโภ, โส จ โข อนิจฺโจ ทุกฺโข วิปริณามธมฺโมติ ยถาภูตํ ปชานาติ.
ภิกฺขเว ดูกรภิกษุ ท. ลาโภ อ. ลาภ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ปุถุชฺชนสฺส แก่ภิกษุผู้ปุถุชน อสฺสุตวโต ผู้ไม่สดับอยู่, โส ปุถุชฺขโน อ. ภิกษุปุถุชนนั้น น ปฏิสญฺจิกฺขติ ย่อมไม่พิจารณาเห็น อุปฺปนฺโน โข ฯเปฯ วิปริณามธมฺโม อิติ ว่าดังนี้ (เลขใน) ลาโภ อ.ลาภ อยํ นี้ อุปฺปนฺโน โข บังเกิดแล้วแล เม แก่เรา, จ แต่ว่า โส โข ลาโภ อ.ลาภนั้นแล อนิจฺโจ ไม่เที่ยง ทุกฺโข เป็นทุกข์ วิปริณามธมฺโม มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา ฯ

๔๐๓. ปาตลิปุตฺตสฺมึ นคเร สุทสฺสโน นาม ราชา โย สิปฺปํ น ชานาติ, โส อนฺโธ วิย โหตีติ อิมํ อตฺถํ คเหตฺวา คีตํ คายนฺตสฺส วจนํ สุตวา อตฺตโน ปุตฺเต สิปฺปํ อชานฺนเต ญตฺวา สํวิคฺคมานโส หุตฺวา ราชปณฺฑิเต สนฺนิปาเตตฺวา โก เม ปุตฺเต สิปฺปํ สิกฺขาเปตุ สกฺขิสฺสตีติ ปุจฺฉิ. ตํ สุตฺวา อญฺญตโร ราชปณฺฑิโต อหนฺเต เทว ปุตฺเต ฉหิ มาเสหิ สิปฺปํ ชานาเปสฺสามีติ อาห. โส ตุสิตฺวา ตสฺส นิยฺยาเทสิ.
ราชา อ. พระราชา สุทสฺสโน นาม ชื่อว่า สุทัสสนะ นคเร ในพระนคร ปาตลิปุตฺตสฺมึ ชื่อว่าปาตลีบุตร สุตฺวา ทรงสดับแล้ว วจนํ ซึ่งคำ ปุคฺคลสฺส ของบุคคล โย สิปฺปํ ฯเปฯ อิติ อิมํ อตฺถํ คเหตฺวา คีตํ คายนฺตสฺส ผู้ถือเอาซึ่งเนื้อความนี้ว่า ดังนี้แล้วขับอยู่ ซึ่งเพลงขับ ญตฺวา ทรงทราบแล้ว ปุตฺเต ซึ่งพระโอรส ท. อตฺตโน ของพระองค์ อชานฺเต ผู้ไม่รู้อยู่ สิปฺปํ ซึ่งศิลปะ สํวิคฺคมานโส เป็นผู้มีพระหฤทัยอันสลดแล้ว หุตฺวา เป็น ราชปณฺฑิเต ยังราชบัณฑิต ท. สนฺนิปาเตตฺวา ให้ประชุมกันแล้ว ปุจฺฉิ ตรัสถามแล้ว โก เม ปุตฺเต ฯเปฯ สกฺขิสฺสติ อิติ ว่าดังนี้(เลขในท่อนบน) โย ปุคฺคโล อ. บุคคลใด น ชานาติ ย่อมไม่รู้ ซึ่งศิลปะ โส ปุคฺคโล อ. บุคคลนั้น อนฺโธ วิย เป็นผู้ราวกะว่าคนตาบอด โหติ ย่อมเป็น(เลขในท่อนสอง) โก อ. ใคร สกฺขิสฺสติ จักอาจ เม ปุตฺเต สิปฺปํ สิกฺขาเปตุ เพื่ออันยังบุตร ท. ของเราให้ศึกษาศิลปะ.ฯ ราชปณฺฑิโต อ. ราชบัณฑิต อญฺญญโร คนใดคนหนึ่ง สุตฺวา ฟังแล้ว ตํ วจนํ ซึ่งคำนั้น อาห กราบทูลแล้ว อหนฺเต ฯเปฯ ชานาเปสฺสามิ อิติ ว่าดังนี้ เทว ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ อหํ อ. ข้าพระองค์ ปุตฺเต ยังพระโอรส ท. เต ของพระองค์ ชานาเปสฺสามิ จักให้ทราบ สิปฺปํ ซึ่งศิลปะ มาเสหิ โดยเดือน ท. หก ฯ โส ราชา อ. พระราชานั้น ตุสิตฺวา ทรงยินดีแล้ว นิยฺยาเทสิ ทรงมอบให้แล้ว ตสฺส ราชปณฑิตสฺส แก่ราชบัณฑิตนั้นฯ

๔๐๔. ภควา อตฺตโน ปรินิพฺพานํ อารพฺภ อานนฺทตฺเถรํ อามนฺเตตฺวา โย โว อานนฺท มยา เทสิโต ปญฺญตฺโต ธมฺโม จ วินโย จ, โส โว มม อจฺจเยน สตฺถาติ วตฺวา หนฺททานิ ภิกฺขเว อามนฺตยามิ โว, วยธมฺมา สงฺขารา, อปฺปมาเทน สมฺปาเทถาติ, ภิกฺขูนํ โอวาทํ อทาสิ.
ภควา อ. พระผู้มีพระภาค อารพฺภ ทรงปรารภ ปรินิพฺพานํ ซึ่งการปรินิพพาน อตฺตโน แห่งพระองค์ อามนฺตฺวา ตรัสเรียกมาแล้ว อานนฺทตฺเถรํ ซึ่งพระเถระชื่อว่าอานนท์ วตฺวา ตรัสแล้ว โย โว อานฺท ฯเปฯ อจฺจเยน สตฺถา อิติ ว่าดังนี้ อทาสิ ได้ประทานแล้ว โอวาทํ ซึ่งโอวาท ภิกฺขูนํ แก่ภิกษุ ท. หนฺททานิ ฯเปฯ สมฺปาเทถา อิติ ว่าดังนี้ (เลขในท่อนบน) อานนฺท ดูกรอานนท์ ธมฺโม จ. อ. พระธรรมด้วย วินโย จ อ. พระวินัยด้วย โย ใด มยา อันเรา เทสิโต แสดงแล้ว ปญฺญตฺโต บัญญํติแล้ว โว แก่เธอ ท. โส ธมฺมวินโย อ. พระธรรมและพระวินัยนั้น สตฺถา จักเป็นครู โว ของเธอ ท. อจฺจเยน โดยกาลล่วงไป มม ของเรา ภวิสฺสติ จักเป็น(เลขในที่ ๒) ภิกฺขเว ดูกร ภิกษุ ท. หนฺท ดังเราตักเตือน อหํ อ. เรา อามนฺตยามิ ย่อมร้องเรียก โว ซึ่งเธอ ท. อิทานิ ในกาลนี้ สงฺขารา อ. สังขาร ท. วยธมฺมา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา ตุมเห อ. เธอ ท. สมฺปาเทถ จงยังกาลให้ถึงพร้อม อปฺปมาเทน ด้วยความไม่ประมาท.

๔๐๕. วกฺกลินาม พฺราหฺมโณ อมฺหากํ สตฺถุ รูปสมปตฺตึ ทิสฺวา ทสฺสเนน อติตฺโตเยวอิมินา อุปาเยน อหํ นิจฺจกาลํ สตฺถารํ ปสฺสิตุ ลภิสฺสามีติ จินฺเตตฺวา ปพฺพชิตฺวา สตถุ สนฺติเกเยว วิจริ. สตฺถา ตํ ปวตฺตึ ญตฺวา กึ เต วกฺกลิ อิมินา ปูติกาเยน, โยปิ วกฺกลิ นิจฺจํ มม สงฺฆาฏิกณฺณํ คเหตฺวา วิจรติ, น โส มํ ปสฺสติ นาม, โย จ โข วกฺกลิ ธมฺมํ ปสฺสติ, โส มํ ปสฺสติ นามาติ อาห .
พฺราหฺมโณ อ. พราหมณ์ วกฺกลิ ชื่อว่าวักกลิ ทิสฺวา เห็นแล้ว รูปสมฺปตฺตึ ซึ่งรูปสมบัติ สตฺถุ แห่งพระศาสดา อมฺหากํ ของเรา ท. ทสฺสเน อติตฺโตเอว เป็นผู้ไม่อิ่มแล้ว ในเพราะอันเห็นนั่นเทียว หุตฺวา เป็น จินฺเตตฺวา คิดแล้ว อิมินา อุปาเยน ฯปฯ ปสฺสิตุ ลภิสฺสามิ อิติ ว่าดังนี้ ปพฺพชิตฺวา บวชแล้ว วจริ เที่ยวไปแล้ว สตฺถุ สนฺติเก เอว ในสำนักของพระศาสดานั่นเทียว(เลขใน) อห็ อ. เรา ลภิสฺสามิ จักได้ ปสฺสิตุ เพื่ออันเห็น สตฺถารํ ซึ่งพระศาสดา นิจฺจกาลํ ตลอดกาลเป็นนิตย์ อุปาเยน โดยอุบาย อิมินา นี้ฯ สตฺถา อ. พระศาสดา ญตฺวา ทรงทราบแล้ว ปวตฺตึ ซึ่งเรื่องอันเป็นไปทั่ว ตํ นั้น อาห ตรัสแล้ว กึ เต วกฺกลิ ฯเปฯ ปสฺสติ นาม อิติ ว่าดังนี้ (เลขใน) วกฺกลิ ดูกรวักกลิ กึ ปโยชนํ อ. ประโยชน์อะไร ปูติกาเยน ด้วยกายอันเปื่อยเน่า อิมินา นี้ เต แก่เธอ วกฺกลิ ดูกรวักกลิ โย ปิ ปุคฺคโล อ. บุคคลแม้ใด คเหตฺวา จับแล้ว สงฺฆาฏิกณฺณํ ซึ่งมุมแห่งผ้าสังฆาฎิ มม ของเรา วิจริ ย่อมเที่ยวไป นิจฺจํ เป็นนิตย์ โส ปุคฺคโล อ.บุคคลนั้น น ปสฺสติ นาม ชื่อว่าย่อมไม่เห็น มํ ซึ่งเรา วักกลิ ดูกรวักกลิ จ ส่วนว่า โย โข ปุคฺคโล อ. บุคคลใดแล ปสฺสติ ย่อมเห็น ธมฺมํ ซึ่งธรรม โส ปุคฺคโล อ. บุคคลนั้น ปสฺสติ นาม ชื่อว่าเห็น มํ ซึ่งเรา ฯ

แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๓๙๑-ข้อ ๔๐๐


แปลไทยเป็นมคธ
ข้อ ๓๙๑-ข้อ ๔๐๐

๓๙๑. เจ้า จงไป สู่บ้าน ชื่อโน้น แล้ว กลับมา พลัน.
อสุกํ คามํ คนฺตฺวา ขิปฺปํ ปจฺจาคจฺฉาหิ.

๓๙๒. หญิง นั้น พูด จริง, คำ ของเขา อันเรา ต้องทำ.
สา อิตฺถี สจฺจํ วทติ, ตสฺสา วจนํ มยา กาตพฺพํ ฯ

๓๙๓. ภิกษุ ท. ๓ๆ อยู่แล้ว สิ้นฤดูฝน ในเมืองสาเกต ไม่ผาสุก.
ตึส ภิกฺขู สาเกเต วสฺสํ อผาสุกํ วิหรึสุ.

๓๙๔. สมณะ ค่อยๆ ไปอยู่ โดยปกติ จึงงาม.
สมโณ ปกติยา สณิกํ คจฺฉนฺโต โสภติ ฯ

๓๙๕. บุรุษ ผู้มีปัญญา ย่อมรู้ ซึ่งธรรม อันพระผู้มีพระภาค แสดงแล้ว โดยเร็ว.
ปญฺญวา ปุริโส ภควตา เทสิตํ ธมฺมํ ขิปฺปํ ชานาติ.

๓๙๖. นอน หลับ ตลอดวัน ทั้งสิ้น ประเสริฐกว่า, ตรึก ซึ่งวิตก เป็นอกุศล ไม่ประเสริฐเลย.
วรตรํ สกลํ ทิวสํ นิปชฺชิตฺวา นิทฺทายนํ , น วรเมว อกุสลสฺส วิตกฺกนํ ฯ

๓๙๗. ได้ น้อย โดยสุจริต ดีกว่า, ได้ มาก โดยทุจริต ไม่ดีเลย.
สุนฺทรตรํ สุจริเตน อปฺปภลนํ, น สาธุ เอว ทุจฺจริเตน พหุลภนํ ฯ

๓๙๘. ดูกรกุมาร ท. เจ้า ท. จงถือเอา ซึ่งศิลปะ ให้ประโยชน์สำเร็จ.
สาธุกํ กุมารา สิปฺปํ คณฺหถ ฯ

๓๙๙. แน่ะแม่ เจ้า อันชน ท. อื่น ว่า เป็นธรรม อย่า โกรธแล้ว.
มา อมฺม อญฺเญหิ ชเนหิ ธมฺมํ วุตฺตา กุชฺฌิ.

๔๐๐. คน ผู้ประกอบด้วยเมตตา นอนหลับ เป็นสุข ตื่น เป็นสุข.
เมตฺตาย สมนฺนาคโต นโร สุขํ สุปติ สุขํ ปฏิพุชฺฌติ ฯ

Followers

Flagcounter

free counters

Speedy

SplashDirectory.comFree Counter