Google

Thursday, December 5, 2019

แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๕๒๖-ข้อ ๕๓๐


แปลไทยเป็นมคธ
ข้อ ๕๒๖-ข้อ ๕๓๐

๕๒๖. ขอพระเถระ จงประกาศ ซึ่งคุณ ของพระเถระ แม้อื่น แก่ข้าฯ พระปุณณเถระ ผู้เป็นบุตรแห่งนางมันตานี อันพระศาสดา สรรเสริญแล้วว่า เป็นยอด ของสาวก ท. ผู้ธรรมกถึก.
เถโร เม อปรสฺสาปิ เถรสฺส คุณํ ปกาเสตุ ภนฺเตติ ฯ มนฺตานีปุตฺโต ปุณฺณตฺเถโร สตฺถารา ธมฺมกถิกานํ สาวกานํ อคฺโคติ ปสฏฺโฐ อาวุโสติ ฯ

๕๒๗. ความเป็นไป ของท่าน อย่างไร? ท่าน เกิดแล้ว ในตระกูล แห่งพราหมณมหาศาล ในบ้านพราหมณ์ แห่งหนึ่ง อันไม่ไกล แต่กรุงกบิลพัสดุ์, ท่าน เป็น ภาคิเนยยะ ของพระอัญญาโกณฑัญญะ. ครั้นเมื่อพระศาสดา เสด็จอยู่ ในกรุงราชคฤห์, พระเถระ ผู้ลุง มาแล้ว สู่กรุงกบิลพัสดุ์, ยังท่าน ให้บวชแล้ว, กลับไป สู่สำนัก ของพระศาสดา. ท่านไม่ไปแล้ว กับลุง ของท่าน คิดแล้วว่า เรา จักยังกิจแห่งบรรพชิต ของเรา ให้ถึงที่สุดแล้ว (จึง) ไป สู่สำนัก แห่งพระศาสดา; อยู่แล้ว ในกรุงกบิลพัสดุ์ นั้นนั่นเทียว, ยังวิปัสสนา ให้เจริญแล้ว, ถึงแล้ว ซึ่งพระอรหัต, ไปแล้ว สู่สำนัก แห่งพระศาสดา ในภายหลัง.
กถํ ตสฺส ปวตฺติ ภนฺเตติฯ โส อาวุโส กปิลวตฺถุโต อวิทูเร เอกสฺมึ พฺราหฺมณคาเม พฺราหฺมณมหาสาลสฺส กุเล ชาโต, โส อญฺญาโกณฺฑญฺญตฺเถรสฺส ภาคิเนยฺโย โหติ ฯ สตฺถริ ราชคเห วิหรนฺเต, มาตุลตฺเถโร กปิลวตฺถุสมึ อาคนฺตฺวา, ตํ ปพฺพาเชตฺวา, สตฺถุ สนฺติกํ นิวตฺติ ฯ โส อตฺตโน มาตุเลน สทฺธึ อคนฺตฺวา ปุพฺพกิจฺจํ เม มตฺถกํ ปาเปตวา สตฺถุ สนฺติกํ คมิสฺสามีติ; ตสฺมึเยว วิหริตฺวา, วิปสฺสนํ วฑฺเฒตฺวา อรหตฺตํ ปตฺวา, ปจฉา สตฺถุ สนฺติกํ อคมาสิ ฯ

๕๒๘. ข้าฯ เป็นผู้ใคร่ เพื่อจะฟัง ซึ่งเกียรติ ของพระเถระ แม้อื่นอีก. ถ้าอย่างนั้น ท่านจงฟัง.
อหํ ภนฺเต อปรสฺสาปิ เถรสฺส กิตฺตึ โสตุกาโมมฺหีติ ฯ เตนหิ สุณาหิ อาวุโสติฯ

๕๒๙. พระกาฬุทายี อันพระศาสดา สรรเสริญแล้ว ว่าเป็นยอดของสววก ท. ผู้ยังตระกูล ให้เลื่อมใส.
กาฬุทายี อาวุโส สตฺถารา กุลปฺปสาทกานํ สาวกานํ อคฺโคติ ปสฏฺโฐติฯ

๕๓๐. ความเป็นไป ของท่าน อย่างไร? ท่านเกิดแล้ว ในตระกูล แห่งอำมาตย์ ในกรุงกบิลพัสดุ์ ในวัน แห่งพระศาสดา ประสูติแล้ว บิดา ของท่าน ถวายแล้ว ซึ่งท่าน แก่พระศาสดา เพื่อประโยชน์ แก่ความเป็นบริวาร ในกาลแห่งท่านเป็นทารก ท่าน ได้(เคย) เล่นแล้ว กับพระศาสดา เหตุนั้น ท่าน ได้เป็น ผู้มีความคุ้นเคยแล้ว ในพระองค์, ครั้นเมื่อพระศาสดา เสด็จออก ทรงผนวชแล้ว ถึงแล้ว ซึ่งพระสัมมาสัมโพธิญาณ, มีธรรมจักรอันให้เป็นไปแล้ว เสด็จมาแล้ว โดยลำดับ ประทับอยู่แล้ว ในกรุงราชคฤห์ ; พระราชา สุทโธทนะ ทรงทราบแล้ว ชึ่งข่าวนั้น ทรงส่งไปแล้ว ซึ่งท่าน เพื่ออันนำมา ซึ่งพระศาสดา สู่กรุงกบิลพัสดุ์ ท่านไปแล้ว สู่กรุงราชคฤห์, ฟังแล้ว ซึ่งธรรม อันพระศาสดา แสดงแล้ว, ถึงแล้ว ซึ่งพระอรหัต ได้แล้ว ซึ่งเอหิภิกขุอุปสัมปทา ในสำนัก แห่งพระศาสดา เป็นผู้นำในทาง นำมาแล้ว ซึ่งพระศาสดา สู่กรุงกบิลพัสดุ์.
กถํ ตสฺส ปวตฺติ ภนฺเตติ ฯ โส อาวุโส สตฺถุ ชาตทิวเส กปิลวตฺถุสฺมึ อมจฺจสฺส กุเล ชาโต, ตสฺส ปิตา ปริวารตฺถาย สตฺถุ ตํ นิยฺยาเทสิ, ทารกกาเล โส สตฺถารา สทฺธึ อกีฬิ, ตสฺมา โส ตสฺมึ วิสฺสาโส อโหสิ, สตฺถริ อภินิกฺขมิตฺวา สมฺมาสมฺโพธึ ปตฺวา ปวตฺติตธมฺมจกฺเก อนุปุพฺเพน อาคนฺตฺวา ราชคเห วุฏฺเฐ; สุทฺโธทนราชา ตํ สาสนํ ญตฺวา สตฺถารํ กปิลวตฺถุ(ถุง) อาเนตุ(ตุง) ตํ อุยฺโยเชสิ, โส ราชคหํ คนฺตฺวา, สตฺถารา เทสิตํ ธมฺมํ สุตฺวา, อรหตฺตํ ปตฺวา สตฺถุ สนฺติเก เอหิภิกขูปสมฺปทํ ลภิตฺวา มคฺคนายโก หุตฺวา สตฺถารํ กปิลวตฺถุ(ถุง) อาเนสีติฯ

อุภัยพากยปริวัตน์ ภาคที่ ๒ จบ

แปลยมคธเป็นไทย ข้อ๕๒๑- ข้อ ๕๒๕


แปลยมคธเป็นไทย
ข้อ๕๒๑- ข้อ ๕๒๕

๕๒๑. สาธุ เม ภนฺเต อปรสฺสาปิ เถรสฺส คุณํ ปกาเสถาติ. มหากจฺจายนตฺเถโร อาวุโส สตฺถารา สงฺขิตฺเตน ภาสิตสฺส วิตฺถาเรน อตฺถํ วิภชนฺตานํ สาวกานํ อคฺโคติ ปสฏฺโฐติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ อาห กล่าวแล้ว สาธุ เม ภนฺเต อปรสฺสาปิ เถรสฺส คุณํ ปกาเสถ อิติ ว่าดังนี้
สาธุ อ. ดีละ ตุมเห อ. ท่าน ท. ปกาเสถ ขอจงประกาศ คุณํ ซึ่งคุณ เถรสฺส แห่งพระเถระ อปรสฺสาปิ แม้อื่นอีก เม แก่กระผม ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว มหากจฺจายนตฺเถโร ฯเปฯ ปสฏฺโฐ อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ มหากจฺจายนตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่ามหากัจจายนะ สตฺถารา อันพระศาสดา ปสฏฺโฐ ทรงสรรเสริญแล้ว สงฺขิตฺเตน ฯเปฯ อคฺโค อิติ ว่า เป็นผู้เลิศแห่งพระสาวก ท. ผู้จำแนกอยู่ซึ่งเนื้อความแห่งพระดำรัสอันอันพระศาสดาตรัสแล้วโดยย่อ โดยพิสดาร ดังนี้ฯ

๕๒๒."กสฺส ปุตฺโต ภนฺเตติ. อุชฺเชนิยํ ปุโรหิตสฺส อาวุโสติ.
วิธุโร อ.ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กสฺส ปุตฺโต ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส มหากจฺจายนตฺมหาเถโร อ. พระเถระชื่อว่ามหากัจจายนะนั้น ปุตฺโต เป็นบุตร กสฺส ของใคร โหติ ย่อมเป็น
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว อุชฺเชนิยํ ปุโรหิตสฺส อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส มหากจฺจายนตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่ามหากัจจายนะนั้น ปุตฺโต เป็นบุตร ปุโรหิตสฺส ของปุโรหิต อุชฺเชนิยํ ในพระนครอุชเขนี โหติ ย่อมเป็น ฯ

๕๒๓. คิหิกาเล กินติ สญฺชานึสุ ภนฺเตติ.นามวเสน กาญฺจโนติ จ โคตฺตวเสน กจฺจายโนติ จ อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว คิหืกาเล กินติ นํ สญฺชานึสุ ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านู้เจริญ ชนา อ. ชน ท. สญฺชานึสุ รู้พร้อมแล้ว นํ เถรํ ซึ่งพระเถระนั้น กึ อิติ ว่า อ. อะไร ดังนี้ คิหิกาเล ในกาลแห่งพระเถระนั้นเป็นคฤหัสถ์ ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว นามวเสน ฯเปฯ จ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ชนา อ. ชน ท. สญฺชานึสุ รู้พร้อมแล้ว นํ เถรํ ซึ่งพระเถระนั้น นามวเสน กาญฺจโน อิติ จ ว่า อ.กุมารชื่อว่ากาญจนะ ดังนี้ ด้วยอำนาจแห่งชื่อด้วย โคตฺเตน กจฺจายโน อิติ จ ว่า อ.กุมารชื่อว่ากัจจายนะ ดังนี้ ด้วยอำนาจแห่งโคตรด้วย คิหิกาเล ในกาลแห่งพระเถระเป็นคฤหัสถ์

๕๒๔. กถํ ตสฺส ปพฺพชฺชา ภนฺเตติ. จณฺฑปฺปชฺโชโต อาวุโส ราชา ตสฺส ปิตุ อจฺจเยน ปุโรหิตฐานํ อทาสิ. ราชา พุทฺธสฺส อุปฺปนฺนภาวํ สุตฺวา อมจฺเจ สนฺนิปาเตตฺวา ปุจฉิ พุทฺโธ ภเณ โลเก อุปฺปนฺโน, โก ตํ อาเนตุ(ตุง) สกฺขิสฺสตีติ. เต เอวมาหํสุ เทว อญฺโญ ทสพลํ อาเนตุ(ตุง) สมตฺโถ นาม นตฺถิ, กจฺจายโน อาจริโย ว สมฏฺโฐ, ตํ เทโว ปหิณตูติ โส ตํ ปกฺโกเสาเปตฺวา พฺราหฺมณ ทสพลสฺส สนฺติกํ คนฺตฺวา ตํ อาเนหีติ อาห . สเจ ปพฺพชิต(ตุง) ลภิสฺสามิ คสิสฺสามิ เทวาติ. ราชา สาธูติ สมปฏิจฺฉิ. โส สตฺตหิ ชเนหิ สทฺธึ สตฺถุ สนฺติกํ อคมาสิ. อถสฺส สตฺถา ธมฺมํ เทเสติ. เทสนาปริโยสาเน สตฺตหิ ชเนหิ สทฺธึ อรหตฺตํ ปาปุณิ. สตฺถา เอถ ภิกฺขโวติ เนสํ อุปสมฺปทํ อนุญฺญาสิ. เอวํ ตสฺส ปพฺพชฺชาติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กถํ ตสฺส ปพฺพชฺชา ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปพฺพชฺชา อ. การบวช ตสฺส มหากจฺจายนตฺเถรสฺส ของพระเถระชื่อว่ามหากัจจายนะนั้น กถํ อย่างไรฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว จณฺฑปฺปชฺโชโต อาวุโส ฯเปฯ เอวํ ตสฺส ปพฺพชฺชา อิติ ว่าดังนี้ อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ราชา อ. พระชา จณฺฑปฺปชฺโชโต พระนามว่าจัณฑปัชโชติ อทาสิ ได้พระราชทานแล้ว ปุโรหิตฏฺฐานํ ซึ่งตำแหน่งแห่งปุโรหิต อจฺจเยน โดยกาลที่ล่วงไป ปิตุโน แห่งบิดา ตสฺส มหากจฺจายนตฺเถรสฺส ของพระเถระชื่อว่ามหากัจจายนะนั้น ฯ ราชา อ. พระราชา สุตฺวา ทรงสดับแล้ว พุทฺธสฺส อุปฺปนฺนภาวํ ซึ่ งความที่แห่งพระพุทธเจ้าเสด็จอุบัติแล้ว อมจฺเจ ยังอำมาตย์ ท. สนฺนิปาเตตฺวา ให้ประชุมกันพร้อมแล้ว ปุจฺฉิ ตรัสถามแล้ว พุทฺโธ ฯเปฯ สกฺขิสฺสตี อิติ ว่าดังนี้ ภเณ แน่ะพนาย พุทฺโธ อ. พระพุทธเจ้า อุปฺปนฺโน เสด็จอุบัติแล้ว โลเก ในโลก โก อ. ใคร สกฺขิสฺสติ จักอาจ อาเนตุ(ตุง) เพื่ออันนำมา ตํ พุทฺธํ ซึ่งพระพุทธเจ้านั้น ฯ เต อมจฺจา อ. อำมาตย์ ท. เหล่านั้น อาหํสุ กราบทูลแล้ว เอวํ อย่างนี้ เทว อญฺโญ ฯเปฯ เทโว ปหิณตุ อิติ ว่าดังนี้ เทว ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ อญฺโญ ปุคฺคโล อ. บุคคลอื่น สมตฺโถ นาม ชื่อว่าผู้สามารถ อาเนต(ตุง) เพื่ออันนำมา ทสพลํ ซึ่งพระทศพล นตฺถิ ย่อมไม่มี อาจริโย อ. อาจารย์เทียว กจฺจายโน ชื่อว่า กัขจายนะ สมตฺโถ เป็นผู้สามารถ โหติ ย่อมเป็น เทโว อ. พระผู้สมมติเทพ ปหิณตุ ขอจงส่งไป ตํ กจฺจายนํ ซึ่งอาจารย์ชื่อว่ากัจจายนะนั้น ฯ โส ราชา อ. พระราชานั้น ปกฺโกสาเปตฺวา รับสั่งให้เรียกแล้ว ตํ กจฺจายนํ ซึ่งปุโรหิตชื่อว่ากัจจายนะนั้น อาห ตรัสแล้ว พฺราหฺมณ ฯเปฯ อาเนหิ อิติ ว่าดังนี้ พฺ ราหฺมณ ดูก่อนพราหมณ์ ตฺวํ อ. ท่าน คนฺตฺวา ไปแล้ว สนฺติกํ สู่สำนัก ทสพลสฺส แห่งพระทศพล อาเหิ จงนำมา ตํ ทสพลํ ซึ่งพระทศพลนั้น ฯ โส กจฺจายโน อ. ปุโรหิตชชิ่อว่ากัจจายนะนั้น อาห กราบทูลแล้ว สเจ ฯเปฯ เทว อิติ ว่าดังนี้ เทว ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ สเจ ถ้าว่า อหํ อ.ข้าพระองค์ ลภิสฺสามิ จักได้ ปพฺพชิตุ(ตุง) เพื่ออันบวชไซร้ อ. ข้าพระองค์ คมิสฺสามิ จักไป ฯ ราชา อ. พระราชา สมฺปฏิจฺฉิ ทรงรับพร้อมแล้ว สาธุ อิติ ว่า อ.ดีละ ดังนี้ ฯ
โส กจฺจายโน อ. ปุโรหิตชื่อว่ากัจจายนะนั้น อคมาสิ ได้ไปแล้ว สู่สำนัก สตฺถุ แห่งพระศาสดา สทฺธึ กับ ชเนหิ ด้วยชน ท. เจ็ดฯ อถ ครั้งนั้น สตฺถา อ. พระศาสดา เทเสสิ ทรงแสดงแล้ว ธมฺมํ ซึ่งธรรม ตสฺส กจฺจายนสฺส แก่ปุโรหิตชือว่ากัจจายนะนั้น ฯ โส กจฺจายโน อ. ปุโรหิตชื่อว่ากัจจายนะนั้น ปาปุณิ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ สทฺธึ กับ ชเนหิ ด้วยชน ท. สตฺตหิ เจ็ด เทสนาปริโยสเน ในกาลเป็นที่สุดลงรอบแห่งเทศนา ฯ สตฺถา อ. พระศาสดา อนุญฺญาสิ ทรงอนุญาตแล้ว อุปสมฺปทํ ซึ่งการอุปสมบท เนสํ ชนานํ แก่ชน ท. เหล่านั้น วจเนน ด้วยพระดำรัส เอถ ภิกฺขโว อิติ ว่าดังนี้ ตมฺเห อ. เธอ ท. ภิกฺขเว เป็นภิกษุ หุตฺวา เอถ จงมา(ภิกฺขโว ดูก่อนภิกษุ ท. ตุมฺเห อ. เธอ ท. เอถ จงมา แปลอย่างนี้ก็ได้) ฯ ปพฺพชฺชา อ.การบวช ตสฺส มหากจฺจายนตฺเถรสฺส แห่งพระเถระชื่อมหากัจจายนะนั้น โหติ ย่อมมี เอวํ อย่างนี้ ฯ

๕๒๕. กึ โส ปพฺชิตฺวา สตฺถารํ อุชฺเชนึ อาเนสีติ. โส สตฺถารํ อุชฺเชนึ คนฺตุ(ตุง) ยาจิฯ สตฺถา ปน สยํ อคนฺตฺวา ตเยว ปหิณิ. โส สตฺถารํ อาปุจฺฉิตฺวา อตฺตนา สห อาคเตเหว สตฺตหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ อุชฺเชนึ คนฺตฺวา ราชานํ ปสาเทสีติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว กึ โส ปพฺพชิตฺวา สตฺถารํ อุชฺเชนึ อาเนสิ อิติ ว่าดังนี้
โส มหากจฺจายนตฺเถโร อ. พระเถระชท่อว่ามหากัจจายนะนั้น ปพฺพชิตฺวา ครั้นบวชแล้ว อาเนสิ นำมาแล้ว สตฺถารํ ซึ่งพระศาสดา อุชฺเชนึ สู่พระนครชื่อว่าอุชเชนี กึ หรือ ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว โส สตฺถารํ ฯเปฯ ราชานํ ปสาเทสิ อิติ ว่าดังนี้
โส มหากจฺจายนตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่ามหากัจจายนะนั้น ยาจิ ทูลวิงวอนแล้ว สตฺถารํ ซึ่งพระศาสดา คนฺตุ(ตุง) เพื่ออันเสด็จไป อุชฺเชนึ สู่พระนครชื่อว่าอุชเชนี ฯ ปน แต่ว่า สตฺถา อ. พระศาสดา อคนฺตฺวา ไม่เสด็จไปแล้ว สยํ เอง ปหิณิ ทรงส่งไปแล้ว ตํ เถรํ เอว ซึ่งพระเถระนั้นนั่นเทียว ฯ
โส เถโร อ. พระเถระนั้น อาปุจฉิตฺวา ทูลลาแล้ว สตฺถารํ ซึ่งพระศาสดา คนฺตฺวา ไปแล้ว อุชฺเชนึ สู่พระนครชื่อว่าอุชเชนี สทฺธึ กับ ภิกฺขูหิ ด้วยภิกษุ ท. สตฺตหิ เจ็ด อตฺตนา สห อาคเตหิ เอว ผู้มาแล้วกับด้วยตนนั่นเทียว ราชายํ ยังพระราชา ปสาเทสิ ให้เลื่อมใสแล้ว ฯ

แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๕๑๔- ข้อ ๕๒๐


แปลไทยเป็นมคธ
ข้อ ๕๑๔- ข้อ ๕๒๐

๕๑๔.ขอท่าน ท. จงแสดง ซึ่งคุณ แห่งพระเถระ แม้อื่น แก่ข้าพเจ้า อีก. พระมหากัสสปเถระ ได้เป็นผู้ อันพระศาสดา สรรเสริญแล้ว ในเพราะคุณคือธุดงค์.
สาธุ เม ภนฺเต อปรสฺสาปิ เถรสฺส คุณํ ทสฺเสถาติ ฯ มหากสฺสปตฺเถโร อาวุโส ธุตงฺคุเณ สตฺถารา ปสฏฺโฐ อโหสีติ ฯ

๕๑๕. ท่านเป็นบุตรของใคร? ของกบิลพราหมณ์ ในบ้าน ชื่อมหาติตถะ ในแคว้น มคธ.
โส กสฺส ปุตฺโต อโหสิ ภนฺเตติ ฯ มคธรฏฺเฐ มหาติตฺถคาเม กปิลพฺราหฺมณสฺส อาวุโสติ ฯ

๕๑๖. มารดา ของท่าน ชื่ออะไร? ชื่อ ของมารดา ของท่าน ไม่ปรากฏ.
กา นาม ภนฺเต ตสฺส มาตาติ ฯ ตสฺส มาตุ นามํ น ปญฺญายติ อาวุโสติ ฯ

๕๑๗. ในกาลเป็นคฤหัสถ์ ท่านชื่อไร? ชื่อ ปิปผลิมาณพ.
โก นาม ภนฺเต คิหิกาเล โส โหตีติ ฯ ปิปฺผลิมาณโว นามาวุโสติ

๕๑๘. ท่าน ปรารภ ซึ่งเหตุอะไร? บวชแล้ว. ซึ่งการงาน ของท่าน อันยังทุกข์ ให้เกิดแก่ผู้อื่น.
กึ การณํ อารพฺภ ปพฺพชิโต ภนฺเตติ ฯ ปรสฺส ทุกฺขูปชฺชนกํ ตสฺส กมฺมํ อาวุโสติ ฯ

๕๑๙. ข้าฯ อยากเพื่อจะฟัง ซึ่งเรื่อง ของท่าน โดยพิสดาร.
อหํ ภนฺเต วิตฺถาเรน ตสฺส ปวตฺตึ โสตุ(ตุง) อิจฺฉามีติ ฯ

๕๒๐. ได้ยินว่า ครั้นเมื่อท่าน ถึงวัยแล้ว มารดาบิดา ท. นำมาแล้ว ซึ่งธิดา แห่งพราหมณ์ โกฬิยโคตร ในสาครนคร ในแว่นแคว้นมคธ ชื่อว่าภัททกาปิลานี เพื่อความเป็นภริยาของท่าน โยความไม่ปรารถนา ของท่าน, แม้นาง(ก็) ไม่ปรารถนา เพื่อจะเป็นภริยา ของท่าน, ก็แต่ว่า มารดาบิด ท. ของนาง ให้แล้ว ซึ่งนาง แก่มารดาบิดา ท. ของท่าน. ท่าน ท. ๒ แม้อยู่ ในเรือนเดียวกัน ไม่ได้สำเร็จแล้ว ซึ่งความอยู่ร่วมกัน. เมื่อมารดาบิดา ท. ตายแล้ว, ท่าน ปกครอง ซึ่งสมลัติ ทั้งสิ้น ในเรือน. วันหนึ่ง ท่าน ดูอยู่ ซึ่งการงาน ในนา, เห็นแล้ว ซึ่งนก ท. มีกาเป็นต้น จอกขึ้น(ยกขึ้น) ซึ่งสัตว์น้อย ท. มีไส้เดือนเป็นต้น ในรอยแห่งไถ กินอยู่, สำคัญอยู่ว่า สัตว์ ท. เหล่านี้ ถึง ซึ่งความพินาศ เพราะการงาน ของเรา, เมื่อเป็นอย่างนี้ บาป จักมี แก่เรา” (จึง) เบื่อหน่ายแล้ว ละแล้ว ซึงสมบัติ ทั้งสิ้น บวชแล้ว จำเพาะ ซึ่งพระอรหันต์ ท. ในโลก. ท่าน เที่ยวมา โยลำดับ เห็นแล้ว ซึ่งพระผู้มีพระภาค ประทับแล้ว ที่โคน แห่งต้นพหุปุตตนิโครธ (จึง) เข้าไปใกล้แล้ว ซึ่งพระองค์ พระผู้มีพระภาค ประทานแล้ว ซึงโอวาท, อนุญาตแล้ว ซึ่งอุปสัมปทา ในศาสนา นี้ แก่ท่าน. ท่าน ตั้งอยู่แล้ว ในโอวาท อันพระศาสดา ประทานแล้ว ถึงแล้ว ซึ่งพระอรหัต.คำต่อไปนี้ อันเรา เล่าแล้ว แก่ท่าน ในหนหลังฯ
ตสฺมึ กิร อาวุโส วยปฺปตฺเต มาตาปิตโร ตสฺส อนิจฺฉาย ภัททกาปิลานี นาม มคธรฏฺเฐ สาคลนคเร โกฬิยพฺราหฺมณสฺส ธีตรํ ตสฺส ภริยาภาวตฺถํท อาเนสุ(สุง), สาปิ ตสฺส ภริยาภาวตฺถํ น อิจฺฉติ, ตสฺสา ปน มาตาปิตโร ตสฺส มาตาปิตูนํ ตํ อทํสุฯ เต อุโภ เอกเคเห วสมานาปิ สํวาสํ น กปฺเปสุ(สุง)ฯ มาตาปิตูนํ มตานํ, โส เคเห สกลํ สมฺปตฺตึ อชฺฌาวสติฯ เอกทิวสํ โส เขตฺเต กมฺมนฺตํ โอโลเกนฺโต นงฺคลสฺส สิตาสุ คณฺฑุปฺปาทาทโย ขุทฺทกสตฺเต อุกฺขิปิตฺวา ขาทนฺเต กากาทโย สกุเณ ทิสฺวา อิเม สตฺตา มม กมฺมนฺเตน วินาสํ ปตฺตา, เอวํ สนฺเต ปาปํ เม ภวิสฺสตีติ มญฺญมาโน, นิพฺพิตฺวา สกลสมฺปตฺตึ ปหาย โลกสฺมึ อรหนฺเต อุทฺทิสฺส ปพฺพชิ ฯ โส อนุกฺกเมน วิจรนฺโต พหุปุตฺตนิโคฺรธมูเล นิสินฺนํ ภควนฺตํ ทิสฺวา, ตํ อุปสงฺกมิ ฯ ภควา โอวาทํ ทตฺวา ตสฺส อิมสฺมึ สาสเน อุปสมฺปนฺนํ อนุญฺญาสิ ฯ โส ภควตา ทินฺโทวาเท ฐิโต อรหตฺตํ ปาปุณิ ฯ อิโต ปรํ มยา เหฏฺฐา เต กถิตนฺติ ฯ

แปลมคธเป็นไทย ข้อ ๕๐๑-๕๑๓


แปลมคธเป็นไทย
ข้อ ๕๐๑-๕๑๓

๕๐๑. สาธุ เม ภนฺเต อปรสฺสาปิ เถรสฺส คุณํ ทสฺเสถาติ. สารีปุตฺตตฺเถโร อาวุโส มหาปญฺญภาเว สตฺถารา ปสฏฺโฐ อโหสิ, โมคฺคลฺลานตฺเถโร มหิทฺธิกภาเวติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ อาห กล่าวแล้ว สาธุ เม ภนฺเต อปรสฺสาปิ เถรสฺส คุณํ ทสฺเสถ อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ สาธุ อ. ดีละ ตุมฺเห อ. ท่าน ทสฺเสถ ขอจงแสดง คุณํ ซึ่งคุณ เถรสฺส แห่งพระเถระ อปรสฺสาปิ แม้อื่นอีก เม แก่กระผม ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว สารีปุตฺตตฺเถโร ฯเปฯ มหิทฺธิกภาเว อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ สารีปุตฺตตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตร สตฺถารา ปสฏฺโฐ เป็นผู้อันพระศาสดา ทรงสรรเสริญแล้ว มหาปญฺญภาเว ในเพราะความเป็นผู้มีปัญญามาก อโหสิ ได้เป็นแล้ว, โมคฺคลฺลานตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าโมคคัลลานะ สตฺถารา ปสฏฺโฐ เป็นผู้อันพระศาสดาทรงสรรเสริญแล้ว มหิทฺธิกภาเว ในเพราะความเป็นผู้มีฤทธิ์มาก อโหสิ ได้เป็นแล้ว ฯ

๕๐๒. กึ เต อญฺญมญฺญสฺส ภาตโร โหนฺต ภนฺเตติ. นาวุโส, เต ปน อญฺญมญฺญสฺส สหายกาติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กึ ปน เต ฯเปฯ โหนฺติ อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ เต เทฺว เถรา อ. พระเถระ ท. สอง เหล่านั้น อญฺญมญฺญสฺส ภาตโร เป็นพี่น้องชายของกันและกัน โหนฺติ ย่อมเป็น กึ หรือ ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว นาวุโส เต ปน อญฺญมญฺญสฺส สหายกา อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ เต เทฺว เถรา อ. พระเถระ ท. สอง อญฺญมญฺญสฺส ภาตโร เป็นพี่น้องชายของกันและกัน โหนฺติ ย่อมเป็น น หามิได้, ปน แต่ว่า เต เทฺว เถรา อ. พระเถระ ท. สอง เหล่านั้น อญฺญมญฺญสฺส สหายกา เป็นผู้เป็นสหาย แห่งกันและกัน โหนฺติ ย่อมเป็น ฯ

๕๐๓. กตรสฺมึ ภนฺเต กุเล สารีปุตฺตตฺเถโร ชาโต, โก ตสฺส ปิตา, กา จ มาตาติ. วงฺคนฺตพฺราหฺมณกุเล อาวุโส ชาโต เสฺวว ปิตา, สารี นาม พฺราหฺมณี มาตาติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กตรสฺมึ ภนฺเต ฯเปฯ กา จ มตา อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ สารีปุตฺตตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตร ชาโต เกิดแล้ว กุเล ในตระกูล กตรสฺมึ ไหน, โก อ. ใคร ปิตา เป็นบิดา ตสฺส สารีปุตฺตตฺเถรสฺส ของพระเถระชื่อว่า สารีบุตรนั้น โหติ ย่อมเป็น จ อนึ่ง กา อ. ใคร มาตา เป็นมารดา ตสฺส สารีปุตฺตตฺเถรสฺส ของพระเถระขื่อว่าสารีบุตรนั้น โหติ ย่อมเป็นฯ
เถโร อ.พระเถระ อาห กล่าวแล้ว วงฺคนฺตพฺราหฺมณกุเล ฯเปฯ พฺราหฺมณี มาตา อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ สารีปุตฺตตฺเถโร อ.พระเถระชื่อว่าสารีบุตร ชาโต เกิดแล้ว วงฺคนฺตพฺราหฺมณกุเล ในตระกูลแห่งพราหมณ์ชื่อวังคันตะ, โส เอว วงฺคนฺตพฺราหฺมโณ อ. พราหมณ์ชื่อว่า วังคันตะนั่นเทียว ปิตา เป็นบิดา โหติ ย่อมเป็น, พฺราหฺมณี อ. นางพราหมณี สารี นาม ชื่อว่าสารี มาตา เป็นมารดา โหติ ย่อมเป็น ฯ

๕๐๔. กินฺติ โส ทารกกาเล ปญฺญายีติ. อุปติสฺโสติ อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กินฺติ โส ทารกกาเล ปญฺญายิ อิติ ว่าดังนี้
โส สารีปุตฺตตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตรนั้น ปญฺญายิ ปรากฏแล้ว กึ อิติ ว่าอะไร ดังนี้ ทารกกาเล ในกาลแห่งท่านยังเป็นเด็ก ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว อุปติสฺโสติ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส สารีปุตฺตตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตรนั้น ปญฺญายิ ปรากฏแล้ว อุปติสฺโส อิติ ว่าอ. มาณพชื่อว่าอุปติสสะ ดังนี้ ฯ

๕๐๕. โก ปน ภนฺเต มหาโมคฺคลฺลานตฺเถรสฺส ปิตา, กา จ มาตาติ.
โกลิตคาเม อาวุโส เชฏฺฐพฺราหฺมโณ ปิตา, โมคฺคลฺลี นาม พฺราหฺมณี มาตาติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว โก ปน ฯเปฯ กา มาตา อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ โก อ. ใคร ปิตา เป็นบิดา โมคฺคลฺลานตฺเถรสฺส ของพระเถระชื่อว่าโมคคัลานะ โหติ ย่อมเป็น, จ ก็ อ. ใคร มาตา เป็นมารดา โหติ ย่อมเป็นฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว โกลิตคาเม อาวุโส ฯเปฯ พฺราหฺมณี มาตา อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ เชฏฺฐพฺราหฺมโณ อ. พราหมณ์ผู้เจริญที่สุด โกลิตคาเม ในบ้านชื่อว่าโกลิตะ ปิตา เป็นบิดา โหติ ย่อมเป็น, พฺราหฺมณี อ. นางพราหมณี โมคฺคลฺลี นาม ชื่อว่าโมคคัลลี มาตา เป็นมารดา โหติ ย่อมเป็น.

๕๐๖. โก นาม ภนฺเต เถรสฺส ปิตาติ. ตสฺส นามํ ปญฺญายติ อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว โก นาม ภนฺเต เถรสฺส ปิตา อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปิตา อ.เถรสฺส ของพระเถระ โก นาม ชื่ออะไร ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าววแล้ว ตสฺส นามํ น ปญฺญายติ อวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ นามํ อ. ชื่อ ตสฺส เถรสฺส ปิตุโน แห่งบิดาแห่งพระเถระนั้น น ปญฺญายติ ย่อมไม่ปรากฏ ฯ

๕๐๗. กินติ ปน ภนฺเต ทารกกาเล เถรํ ชญฺชานึสูติ. โกลิโตติ อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว กินติ ปน ภนฺเต ทารกกาเล เถรํ สญฺชานึสุ อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ ชนา อ. ชน ท. สญฺชานึสุ รู้พร้อมแล้ว เถรํ ซึ่งพระเถระ กึ อิติ ว่า อ. อะไร ดังนี้ ทารกกาเล ในกาลแห่งท่านเป็นเด็ก ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว โกลิโตติ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ชนา อ. ชน ท. สญฺชานึสุ รู้พร้อมแล้ว เถรํ ซึ่งพระเถระ โกลิโต อิติ ว่า อ. มาณพชื่อว่าโกลิตะ ดังนี้ ทารกกาเล ในกาลแห่งท่านเป็นเด็ก ฯ

๕๐๘. กินฺเต อารพฺภ นิกฺขมิตฺวา ปพฺพชึสุ ภนฺเตติ. โมกฺขธมฺมํ อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุขื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว กินฺเต อารพฺภ เคหโต นิกฺขมิตฺวา ปพฺพชึสุ ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ เต เทฺว เถรา อ. พระเถระ ท. สองเหล่านั้น อารพฺภ ปรารภ กึ การณํ ซึ่งเหตุอะไร นิกฺขมิตฺวา ออกแล้ว เคหโต จากเรือน ปพฺพชึสุ บวชแล้วฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว โมฺกขธมฺมํ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ เต เทฺว เถรา อ. พระเถระ ท. สองเหล่านั้น อารพฺภ ปรารภ โมกฺขธมฺมํ ซึ่งธรรมเป็นเครื่องพ้น นิกฺขมิตฺวา ออกแล้ว เคหโต จากเรือน ปพฺพชึสุ บวชแล้ว ฯ

๕๐๙. วิตฺถาเรน เตสํ ปวตฺตึ โสตุ(ตุง) อิจฺฉามิ ภนฺเตติ.
วิธุโร อ.ภิกษุชื่อว่าวิธุระ อาห กล่าวแล้ว วิตฺถาเรน เตสํ ปวตฺตึ โสตุ อิจฺฉามิ ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อหํ อ. กระผม อิจฺฉามิ ย่อมปรารถนา โสตุ(ตุง) เพื่ออันฟัง ปวตฺตึ ซึ่งความเป็นไปทั่ว เตสํ เถรานํ แห่งพระเถระ ท. เหล่านั้น วิตฺถาเรน โดยพิสดาร.

๕๑๐. เต กิริ อาวุโส คิหิกาเล สหายกา หุตฺวา เอกทิวสํ ราชคเห คิรคฺคสมชฺชํ ปสฺสนฺตา, ‘กินฺโน โอโลกเนน, วสฺสเต อปฺปตฺเต อิเม มริสฺสนฺตีติ จินฺเตสุ(สุง). เตสํ เอวํ จินฺตยนฺตานํ สํเวโค อุปฺปชฺชิ. ตโต เต สหายกา อมฺเหหิ ปพฺพชิตฺวา โมกฺขธมฺมํ ปริเยสิตุ(ตุง) วฏฺฏตีติ อญฺญมญฺญํ มนฺเตตฺวา สมานฉนฺทา หุตฺวา อตฺตโน ปริวาเรหิ สทฺธึ สญฺชยสฺส นาม ปริพฺพาชกสฺส สนฺติเก ปพฺพชึสุ. เต สพฺพํ สญฺชยสฺส สทฺธึ อุคฺคเหตฺวา นิสฺสารกภาวํ ญตฺวา อมฺเหสุ โย ปฐมํ โมกฺขธมฺมํ อธิคจฺฉติ, โส อิตรสฺส อาโรเจตูติ อญฺญมญฺญํ กติกํ กรึสุ, เอกทิวสํ อุปติสฺโส ราชคเห ปิณฺฑาย จรนฺตํ อสฺสชิตฺเถรํ ทิสฺวา อิริยาปเถสุ ปสีทิสฺวา วิปฺปสนฺนานิ โข เต อาวุโส อินฺทฺริยานิ, ปริสุทฺโธ ฉวิวณฺโณ, กํสิ อาวโส อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต, โก วา เต สตฺถา, กสฺส วา ตฺวํ ธมฺมํ โรเจสีติ ปุจฺฉิตฺวา อมฺหากํ ภควโต สาวกภาวํ ญตฺวา ธมฺมํ เทเสตุ(ตุง) เถรํ ยาจิตฺวา, ธมฺมํ เทสิยมาเน, โสตาปตฺติผลํ ปตฺวา ปริพฺพาชากรามํ อาคนฺตฺวา โกลิตสฺส ปวตฺตึ อาโรเจตฺวา ตญฺเญว ธมฺมํ เทเสติ. โสปิ ตํ สุตฺวา โสตาปตฺติผเล ปติฏฺฐหิ. เต สปิวารา สญฺชยสฺส สนฺติกํ คนฺตฺวา อาปุจฉิตฺวา เวฬุวนํ คนฺตฺวา ภควโต สนฺติเก ลทฺธูปสมฺปทา เตน ทินฺโนวาทํ สุตฺวา อรหตฺตํ ปาปุณึสูติ.
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว เต กิร อาวุโส ฯเปฯ สุตฺวา อรหตฺตํ ปาปุณึสุ อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ กิร ได้ยินว่า เต เถรา อ. พระเถระ ท. เหล่านั้น สหายกา เป็นผู้เป็นสหาย หุตฺวา เป็น คิหิกาเล ในกาลแห่งตนเป็นคฤหัสถ์ ปสฺสนฺตา ดูอยู่ คิรคฺคสมชฺชํ ซึ่งมหรสพอันบุคคลพึงเล่นบนยอดแห่งภูเขา ราชคเห ในกรุงราชคฤห์ เอกทิวสํ ในวันหนึ่ง จินฺเตสุ(สุง) คิดแล้ว กินฺโนฯเปฯ มริสฺสนฺตี อิติ ว่าดังนี้(เลขใน) กึ ปโยชนํ อ. ประโยชน์อะไร โอโลกเนน ด้วยอันดู โน แก่เรา ท. วสฺสสเต ครั้นเมื่อร้อยแห่งปี อปฺปตฺเต ไม่ถึงแล้ว อิเม สตฺตา อ. สัตว์ ท. เหล่านี้ มริสฺสนฺติ จักตายฯ เตสํ สหายกานํ เมื่อสหาย ท. เหล่านั้น จินฺตยนฺตานํ คิดอยู่ เอวํ อย่างนี้ สํเวโค อ. ความสังเวช อุปฺปชฺชิ เกิดขึ้นแล้ว ฯ ตโต ในลำดับนั้น สหายกา อ.สหาย ท. เต เหล่านั้น มนฺเตตฺวา ปรึกษาแล้ว อญฺญมญฺญํ ซี่งกันและกัน อมฺเหหิ ฯเปฯ วฏฺฏติ อิติ ว่าดังนี้ สมานจฺฉนฺทา เป็นผู้มีความพอใจเสมอกัน หุตฺวา เป็น ปพฺพชึสุ บวชแล้ว สนฺติเก ในสำนัก ปริพฺพาขกสฺส แห่งปริพพาชก สญฺชยสฺส นาม ชื่อว่าสัญชัย สทฺธึ กับ ปริวาเรหิ ด้วยบริวาร ท. ของตน(เลขใน) อมฺเหหิ ปพฺพชิตฺวา ปริเยเสตุ(ตุง) อ. อันอันเรา ท. บวชแล้วจึงแสวงหา โมกฺขธมฺมํ ซึ่งธรรมเป็นเครื่องพ้น วฏฺฏติ ย่อมควร ฯ เต สหายกา อ. สหาย ท. เหล่านั้น อุคฺคเหตฺวา เรียนเอาแล้ว ลทฺธึ ซึ่งลัทธิ สญฺชยสฺส แห่งปริพพาชกชื่อว่าสัญชัย สพฺพํ ทั้งปวง ญตฺวา ทราบแล้ว นิสฺสารกภาวํ ซึ่งความที่แห่งลัทธิอันตนเรียนเอาแล้วเป็นธรรมชาติไม่มีแก่นสาร กรึสุ กระทำแล้ว กติกํ ซึ่งความนัดหมาย อญฺญมญฺญํ กะกันและกัน อมฺเหสุ ฯเปฯ อาโรเจตุ อิติ ว่าดังนี้ (เลขใน) อมฺเหสุ ในเรา ท. หนา โย ปุคฺคโล อ. บุคคลใด อธิคจฺฉติ ย่อมถึงทับ (บรรลุ) โมกฺขธมฺมํ ซึ่งธรรมเป็นเครื่องหลุดพ้น ปฐมํ ก่อน, โส ปุคฺคโล อ. บุคคลนั้น อาโรเจตุ จงบอก อิสรสฺส ปุคฺคลสฺส แก่บุคคลนอกนี้ ฯ เอกทิวสํ ในวันหนึ่ง อุปติสฺโส อ. ปริพพาชกชื่อว่าอุปติสสะ ทิสฺวา เห็นแล้ว อสฺสชิตฺเถรํ ซึ่งพระเถระชื่อว่าอัสสชิ จรนฺตํ ผู้เที่ยวไปอยู่ ปิณฺฑาย เพื่อบิณฑบาต ราชคเห ในกรุงราชคฤห์ ปสีทิตฺวา เลื่อมใสแล้ว อิริยาปเถสุ ในอิริยาบถ ท. ปุจฺฉิตฺวา ถามแล้ว วิปฺปสนฺนานิ โข ฯเปฯ โรเจสิ อิติ ว่าดังนี้ ญตฺวา ทราบแล้ว อมฺหากํ ภควโต สาวกภาวํ ซึ่งความที่แห่งพระเถระเป็นพระสาวกของพระผู้มีพระภาคของเรา ยาจิตฺวา วิงวอนแล้ว เถรํ ซึ่งพระเถระ เทเสต(ตุง) เพื่ออันแสดง ธมฺมํ ซึ่งธรรม ธมฺเม ครั้นเมื่อธรรม เถเรน อันพระเถระ เทสิยมาเน แสดงอยู่ ปตฺวา บรรลุแล้ว โสตาปตฺติผลํ ซึ่งพระโสดาปัตติผล อาคนฺตฺวา มาแล้ว ปริพฺพาชการามํ สู่อารามแห่งปริพพาชก อาโรเจตฺวา บอกแล้ว ปวตฺตึ ซึ่งเรื่องอันเป็นไปทั่ว โกลิตสฺส แก่ปริพพาชากชื่อว่าโกลิตะ เทเสสิ แสดงแล้ว ธมฺมํ ซึ่ งธรรม ตํ เอว นั้นนั่นเทียว (เลขใน) อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อินฺทฺริยานิ อ. อินทรีย์ ท. เต ของท่าน วิปฺปสนฺนานิ โข ผ่องใสแล้วแล ฉวิวณฺโณ อ. สีแห่งผิว ปริสุทฺโธ หมดจดรอบแล้ว อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ตฺวํ อ. ท่าน ปพฺพชิโต เป็นผู้บวชแล้ว อุทฺทิสฺส เจาะจง กํ ซึ่งใคร อสิ ย่อมเป็น โก วา อ. ใครหรือ สตฺถา เป็นครู เต ของท่าน โหติ ย่อมเป็น วา หรือว่า ตฺวํ อ. ท่าน โรเจสิ ย่อมชอบใจ ธมฺมํ ซึ่งธรรม กสฺส ของใคร ฯ โสปิ โกลิโต อ. ปริพพาชกชื่อว่าโกลิตะแม้นั้น สุตฺวา ฟังแล้ว ตํ ธมฺมํ ซึ่งธรรมนั้น ปติฏฺฐหิ ตั้งอยู่เฉพาะแล้ว โสตาปตฺติผเล ในโสดาปัตติผล ฯ เต ปริพฺพาชกา อ. ปริพพาชก ท. เหล่านั้น สปิวารา ผู้เป็นไปกับด้วยบริวาร คนฺตวา ไปแล้ว สนฺติกํ สู่สำนัก สญฺชยสฺส แห่งปริพพาชกชื่อว่าสัญชัย อาปุจฺฉิตฺวา อำลาแล้ว คนฺตฺวา ไปแล้ว เวฬุวนํ สู่พระวิหารชื่อว่าเวฬุวัน ภควโต สนฺติเก ลทฺธูปสมปทา เป็นผู้มีอุปสมบทได้แล้ว ในสำนักแห่งพระผู้มีพระภาค หุตฺวา เป็น สุตฺวา ฟังแล้ว เตน ทินฺโนวาทํ ซึ่ งโอวาทอันอันพระผู้มีพระภาคนั้นประทานแล้ว ปาปุณึสุ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ ฯ

๕๑๑. กึ ปน ภนฺเต เอกกฺขเณเยว อรหตฺตํ ปาปุณึสุ อุทาหุ นานาขเณติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว กึ ปน ฯเปฯ อุทาหุ นานาขเณ อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ เต เถรา อ. พระเถระ ท. เหล่านั้น ปาปุณึสุ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ เอกกฺขเณ เอว ในขณะเดียวกันนั้นเทียว กึ หรือ อุทาหุ หรือว่า เต เถรา อ. พระเถระ ท.เหล่านั้น ปาปุณึสุ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ นานาขเณ ในขณะต่างๆกัน ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว นานาขเณ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ เต เถรา อ. พระเถระ ท. เหล่านั้น ปาปุณึสุ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ นานาขเณ ในขณะต่างๆกัน ฯ

๕๑๒. เก ปน ภนฺเต ปฐมํ อรหตฺตํ ปาปุณึสูติ. เตสํ ปริวารา, ตโต มหาโมคฺคลฺลานตฺเถโร, ตโต สารีปุตฺตฺเถโรติ.
วิธุโร อ. ภิกษุ ชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว เก ปน ภนฺเต ปฐมํ อรหตฺตํ ปาปุณึสุ อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ เก เถรา อ. พระเถระ ท. เหล่าไหน ปาปุณึสุ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ ปฐมํ ก่อน ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว เตสํ ปริวารา ฯเปฯ สารีปุตฺตตฺเถโร อิติ ว่าดังนี้
ปริวารา อ. บริวาร ท. เตสํ เถรานํ แห่งพระเถระ ท. เหล่านั้น ปาปุณึสุ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ ปฐมํ ก่อน ตโต แต่นั้น มหาโมคฺคลฺลานตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่ามหาโมคคัลลานะ ปาปุณิ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ ตโต แต่นั้น สารีปุตฺตตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าสารบุตร ปาปุณิ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ ฯ

๕๑๓. เก ปน ภนฺเต สารีปุตฺตตฺเถโร จ โมคฺคลฺลานตฺเถโร จ ภควโต ปรินิพฺพานกาลโต ปุพฺเพ ปรินิพฺพายึสุ อุทาหุ ปจฺฉาติ. ปุพฺเพ อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กึ ปน ภนฺเต ฯเปฯ อุทาหุ ปจฺฉา อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ สารีปุตฺตตฺเถโร จ อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตรด้วย มหาโมคฺคลฺลานตฺเถโร จ อ. พระเถระชื่อว่าโมคคัลลานะด้วย ปรินิพฺพายึสุ ปรินิพพานแล้ว ปุพฺเพ ในก่อน ปรินิพฺพานกาลโต แต่กาลเป็นที่เสด็จปรินิพพาน ภควโต แห่งพระผู้มีพระภาค กึ หรือ อุทาหุ หรือว่า สารีปุตฺตตฺเถโร จ อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตรด้วย โมคฺคลฺลานตฺเถโร จ อ. พระเถระชื่อว่าโมคคัลลานะด้วย ปรินิพฺพายึสุ ปรินิพพานแล้ว ปจฺฉา ในภายหลัง ปรินิพฺพานกาลโต แต่กาลเป็นที่เสด็จปรินิพพาน ภควโต แห่งพระผู้มีพระภาคฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว ปฺพฺเพ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ สารีปุตฺตตฺเถโร จ อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตรด้วย มหาโมคฺคลฺลานตฺเถโร จ อ. พระเถระชื่อว่าโมคคัลลานะด้วย ปรินิพฺพายึสุ ปรินิพพานแล้ว ปุพฺเพ ในก่อน ปรินิพฺพานกาลโต แต่กาลเป็นที่เสด็จปรินิพพาน ภควโต แห่งพระผู้มีพระภาคฯ

แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๔๘๙ - ข้อ ๕๐๐


แปลไทยเป็นมคธ
ข้อ ๔๘๙ - ข้อ ๕๐๐

๔๘๙. ขอท่านจงสำแดง ซึ่งคุณ ของพระเถระ แม้อื่นอีก แก่ข้า ฯ พระอุรุเวลกัสสปเถระได้เป็นผู้อันพระศาสดาสรรเสริญแล้ว ในเพราะความเป็นผู้มีบริวารมาก.
สาธุ เม ภนฺเต อปรสฺสาปิ เถรสฺส คุณํ เทเสถาติ ฯ อุรุเวลกสฺสปตฺถตฺเถโร อาวุโส พหุปริวารภาเว สตฺถารา ปสฏฺโฐ อโหสีติ ฯ

๔๙๐. บริวาร ของท่าน เท่าไร? ร้อย แห่งภิกษุ ท. ห้า เป็นบริวารของท่าน, ของพระนทีกัสสปเถระ ผู้เป็นน้องชายกลาง ของท่าน ร้อย แห่งภิกษุท. สาม, ของพระคยากัสสปเถระ ผู้น้องน้อยที่สุด ของท่าน ร้อยแห่งภิกษุ ท. สอง, เพราะรวม ซึ่งร้อย ท. นั้น ทั้งหมด เป็น พันแห่งภิกษุ.
กิตฺตโก ตสฺส ปริวาโร ภนฺเตติ ฯ ตสฺส ปริวาโร อาวุโส ปญฺจ ภิกฺขุสตานิ, ตสฺส มชฺฌิมภาติกสฺส นทีกสฺสปตฺเถรสฺส ตีณิ ภิกฺขุสตานิ, ตสฺส กนิฏฺฐภาติกสฺส คยากสฺสปตฺเถรสฺส เทฺว ภิกฺขุสตานิ, ตานิ สพฺพานิ อภิสญฺญูหิตฺวา ภิกฺขุสหสฺสานิ โหนฺตีติ ฯ

๔๙๑. ในก่อน แต่กาล แห่งท่าน บวชแล้ว ในธรรมวินัย อันนี้ ท่าน ได้เป็นใคร แล้ว ? เป็นชฎิล ท.
อิธ ภนฺเต ตสฺส ปพฺพชิตกาลโต ปุพฺเพ โส โก อโหสีติฯ ชฏิลา อาวุโสติฯ

๔๙๒. ท่าน อยู่แล้ว ในที่ไหน? ท่าน ทำแล้ว ซึ่งอาศรม ในอุรุเวลา(ประเทศ) สำเร็จแล้ว ซึ่งความอยู่ ในที่นั้น.
กตฺถ ภนฺเต โส วสีติฯ อุรุเวลายํ อาวุโส อสฺสมํ กตฺวา ตตฺถ วาสํ กปฺเปสีติ ฯ

๔๙๓. เพราะเหตุอะไร ท่าน บวชแล้ว ในธรรมวินัย อันนี้? เพราะความเลื่อมใส ในปาฏิหาริย์ ของพระผู้มีพระภาค.
กสฺมา ภนฺเต อิธ ปพฺพชิโตติ ฯ ภควโต ปาฏิหาริเย ปสาเทน อาวุโสติ ฯ

๔๙๔. พระผู้มีพระภาค ได้สำแดงแล้ว ซึ่งปาฏิหาริย์ อะไร แก่ท่าน? ซึ่งปาฏิหาริย์ๆ มีทรมานนาคเป็นต้น มีจงกรมในน้ำเป็นที่สุด.
กึ ปาฏิหาริยํ ภนฺเต ภควา ตสฺส ทสฺเสสีติ ฯ นาคทมนาทีนิ นานาปาฏิหาริยานิ อุทกจงฺกมนปริโยสานานิ อาวุโสติ ฯ

๔๙๕. ในกาลนั้น บริวาร ท. ของท่าน ได้มีแล้ว หรือ, หรือว่า ท่าน ได้แล้ว ซึ่งบริวาร ในกาล แห่งท่าน บวชแล้ว? บริวาร ท. ของท่าน ได้มีแล้ว (แต่) ในกาลนั้น.
กึ ปน ตทา ภนฺเต ตสฺส ปริวารา อเหสุ(สุง), อุทาหุ โส ตสฺส ปพฺพชิตกาเล ปริวารํ ลภีติ ฯ ตทา ตสฺส อาวุโส ปริวารา อเหสุนฺติ ฯ

๔๙๖. บริวาร ท. ของท่าน บวชแล้ว พร้อม กับท่านหรือ? เออ.
กึ ตสฺส ปริวารา เตน สทฺธึ ปพฺพชิตาติ ฯ อามาวุโสติ ฯ

๔๙๗. ธรรมวิเศษ อะไร อันท่าน ท. ถึงทับแล้ว ? พระอรหัต.
โก ปน ภนฺเต ธมฺมวิเสโส เตหิ อธิคโตติ ฯ อรหตฺตํ อาวุโสติ ฯ

๔๙๘. ท่าน ท. ถึงแล้ว ซึ่งพระอรหัตนั้น ในขณะเดียวกัน หรือ หรือว่า ในขณะต่างกันๆ ? ในขณะเดียวกัน.
กึ ปน เต ภนฺเต เอกกฺขเณ ตํ ปาปุณึสุ อุทาหุ นานกฺขเณติ ฯ เอกกฺขเณ อาวุโสติ ฯ

๔๙๙. ท่าน ท. ฟังแล้ว ซึ่งเทศนา ชื่อ อะไร (จึง) ถึงแล้ว ซึ่งพระอรหัต นั้น? ชื่อ อาทิตตปริยาย.
กึ นาม เต ภนฺเต เทสนํ สุตฺวา ตํ ปาปุณึสูติ ฯ อาทิตฺตปริยายํ นาม อาวุโสติ ฯ

๕๐๐. ท่าน นิพพานแล้ว ในก่อน แต่กาลเป็นที่นิพพาน ของพระผู้มีพระภาค หรือ ? เออ.
กึ ปน โส ภนฺเต ภควโต ปรินิพฺพานกาลโต ปุเร ปรินิพฺพายีติ ฯ อาม อาวุโสติ ฯ

แปลมคธเป็นไทย ข้อ ๔๘๑-ข้อ ๔๘๘


แปลมคธเป็นไทย
ข้อ ๔๘๑-ข้อ ๔๘๘

๔๘๑.กิตฺตกา ปน ภนฺเต ภควโต สาวกา เตสุ เตสุ คุเณสุ เตน ปสฏฺฐาติ. เอกจตฺตาฬีสํ อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กิตฺตกา ปน ฯปฯ เตน ปสฏฺฐา อิติ ว่าดังนี้.
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ สาวกา อ. พระสาวก ท. ภควโต ของพระผู้มีพระภาค กิตฺตกา มีประมาณเท่าไร เตน ปสฏฺฐา เป็นผู้อันพระผู้มีพระภานั้น ทรงสรรเสริญแล้ว คุเณสุ ในคุณ ท. เตสุ เตสุ เหล่านั้นๆ โหนฺติ ย่อมเป็น ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว เอกจฺจาฬีสํ อาวุโสติ อติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ สาวกา อ. สาวก ท. ภควโต ของพระผู้มีพระภาค เอกจตฺตาฬีสํ สี่สิบเอ็ด เตน ปสฏฺฐา เป็นผู้อันพระผู้มีพระภาคนั้น สรรเสริญแล้ว คุเณสุ นคุณ ท. เตสุ เตสุ เหล่านั้น ๆ โหนฺติ ย่อมเป็น ฯ

๔๘๒. เตสํ นามานิ โสตุํ อิจฺฉามิ ภนฺเต, สาธุ เม ภนฺเต กเถถาติ. เตนหิ สุโณหิ, กเถสฺสามิ, อญฺญาโกณฺฑญฺญตฺเถโร เตสํ ปาโมกฺโข อโหสีติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ อาห กล่าวแล้ว เตสํ นามานิ ฯปฯ ภนฺเต กเถถ อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อหํ อ. กระผม อิจฺฉามิ ย่อมปรารถนา โสตุ(ตุง) เพื่ออันฟัง นามานิ ซึ่งชื่อ ท. เตสํ สาวกานํ ของพระสาวกท. เหล่านั้น, ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ สาธุ อ. กรรมอันยังประโยชน์ให้สำเร็จ ตุมฺเห อ. ท่าน กเถถ ขอจงบอก เม แก่กระผม ฯ
เถโร อ.พระเถระ อาห กล่าวแล้ว เตนหิ สุเณหิ ฯเปฯ ปาโมกฺโข อโหสิ ว่าดังนี้
เตนหิ ถ้าอย่างนั้น ตฺวํ อ. ท่าน สุโณหิ จงฟัง อหํ อ. เรา กเถสฺสามิ จักบอก, อญฺญาโกณฺฑญญตฺเถโร อ. พระเถระชื่ออัญญาโกณฑัญญะ เตสํ ปาโมกฺโข เป็นผู้เป็นหัวหน้าด้วยอำนาจแห่งความเป็นประธาน แห่งพระสาวก ท. เหล่านั้น อโหสิ ได้เป็นแล้วฯ

๔๘๓. นนุ โส ภนฺเต ปุพฺเพ ตุมฺเหหิ โกณฺฑญฺโญติ กถิโต, อถ กสฺมา อญฺญาโกณฺฑญฺโญติ กเถถ? กึ โส เทฺว นามานิ อลตฺถาติ. ปุพฺเพ โส อาวุโส อญฺญาโกณฺฑญฺโญติ ปญฺญายิ, ยทา โส ธมฺมํ ปฏิวิชฺฌิ, ตทา ภควา อญฺญาสิ วต โภ โกณฺฑญฺโญติ อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ, ตโต ปฏฺฐาย โส .อญฺญาโกณฑญฺโตติ ปญฺญายีติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว นนุ โส ฯเปฯ นามานิ อลตฺถา อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส เถโร อ. พระเถระนั้น ตุมเหหิ อันท่าน กถิโต กล่าวแล้ว โกณฑญฺโญ อิติ ว่า อ. พระเถระชื่อโกญฑัญญะ ดังนี้ ปุพฺเพ ในก่อน นนุ มิใช่หรือ , อถ ภาเว ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น สนฺเต มีอยู่, ตุมเห อ. ท่าน กเถถ ย่อมกล่าวว่า อญฺญาโกณฺฑญฺโญ อิติ ว่า อ. พระเถระชื่อว่าอัญญาโกณฑัญญะ ดังนี้ กสฺมา เพราะเหตุไร? โส เถโร อ. พระเถระนั้น อลตฺถ ได้ได้แล้ว นามานิ ซึ่งชื่อ ท. เทฺว สอง กึ หรือ ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว ปุพฺเพ โส อาวุโส ฯเปฯ ปญฺญายิ อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปญฺยายิ ปรากฏแล้ว โกณฺฑญฺโญ อิติ ว่า อ. พระเถระชื่อว่าโกณฑัญญะ ดังนี้ ปุพฺเพ ในก่อน, โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปฏิวิชฺฌิ แทงตลอดแล้ว ธมฺมํ ซึ่งธรรม ยทา ในกาลใด, ภควา อ. พระผู้มีพระภาค อุทาเนสิ ทรงเปล่งแล้ว อุทานํ ซึ่งอุทาน อิมํ นี้ อญฺญาสิ ฯเปฯ โกณฺฑญฺโญ อิติ ว่าดังนี้ ตทาในกาลนั้น โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปญฺญายิ ปรากฏแล้ว อญฺญาโกณฑญฺโญ อิติ ว่า อ. พระเถระชื่อว่าอัญญาโกณฑัญญะ ดังนี้ ปฏฺฐาย จำเดิม ตโต กาลโต แต่กาลนั้น,(เลขใน) โภ ดูก่อนท่านผู้เจริญ ท. โกณฺฑญฺโญ อ. พระเถระชื่อว่าโกณฑัญญะ อญฺญาสิ วต ได้รู้แล้วหนอฯ

๔๘๔. กตรสฺมา กุลา โส ปพฺพชิโต ภนฺเตติ. พฺราหฺมณกุลา อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กตรสฺมา กุลา โส ปพฺพชิโต ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปพฺพชิโต บวชแล้ว กุลา จากตระกูล กตรสฺมา ไหน ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว พฺราหฺมณกุลา อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปพฺพชิโต บวชแล้ว พฺราหฺมณกุลา จากตระกูลแห่งพราหมณ์ ฯ

๔๘๕. เกน ภนฺเต การเณนติ. ปุพฺเพ โส อาวุโส พฺราหฺมโณ หุตฺวา ติณฺณํ เวทานํ ปารํ ปตฺวา, สตฺถริ มาตุ กุจฺฉิโต นิกฺขนฺเต, ตสฺส ทฺวตฺตึสมหาปุริสลกฺขณานิ ทิสฺวา สจายํ อคารํ อชฺฌาวสิสฺสติ, ราชา ภวิสฺสติ จกฺกวตฺติ, สเจ ปพฺพชิสฺสติ, โลเก อรหํ ภวิสฺสติ สมฺมาสมฺพุทฺโธติ พฺราหฺมณมนฺเต อาคตนเยน สนฺนิฏฺฐานํ กตฺวา, ตสฺมึ ปพฺพชิเต, ภทฺทิเยน จ วปฺเปน จ มหานาเมน จ อสฺสชินา จาติ จตูหิ พฺราหฺมเณหิ สทฺธึ อนุปพฺชิตฺวา ทุกฺกรกิริยากรณกาเล ตํ อุปฏฺฐิหิตฺวา, ตสฺมึ ทุกฺกรกิริยํ วิชหนฺเต, ตโต อปกมฺม พาราณสิยํ อิสิปตเน มิคทาเย วิหรนฺโต, ตสฺมึ สมฺโพธึ ปตฺวา ตสฺส สนฺติกํ อาคฺตฺวา ปฐมเทสนํ กเถนฺเต, โสตาปตฺติผลํ ปตฺวา อปรํปิ เทสนํ สุตฺวา อรหตฺเต ปติฏฺฐหีติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว เกน ภนฺเต การเณน อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปพฺพชิโต บวชแล้ว การเณน เพราะเหตุ เกน อะไร ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว ปุพฺเพ โน ฯเปฯ อรหตฺโต ปติฏฺฐหิ อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส เถโร อ. พระเถระนั้น พฺราหฺมโณ เป็นพราหมณ์ หุตฺวา เป็น ปุพฺเพ ในก่อน ปตฺวา ถึงแล้ว ปารํ ซึ่งฝั่ง เวทานํ แห่งเวท ท. ติณฺณํ สาม , กตฺถริ ครั้นเมื่อพระศาสดา นิกฺขนฺเต เสด็จออกแล้ว กุจฺฉิโต จากพระอุทร มาตุ แห่งมารดา ทิสฺวา เห็นแล้ว ทวตฺตึสมหาปุริสลกฺขณานิ ซึ่งมหาปุริสลักษณะสามสิบสอง ท. ตสฺส สตฺถุโน ของพระศาสดานั้น กตฺวา กระทำแล้ว สนฺนิฏฐานํ ซึ่งความสันนิษฐาน สจายํ อคารํ ฯเปฯ สมฺมาสมฺพุทฺโธ อิติ ว่าดังนี้ พฺรหฺมณมนฺเต อาคตนเยน โดยนัยแห่งคำอันมาแล้วในมนต์แห่งพราหมณ์ ตสฺมึ สตฺถริ ครั้นเมื่อพระศาสดานั้น ปพฺพชิเต ผนวชแล้ว อนุปพฺพชิตฺวา บวชตามแล้ว สทฺธึ กับ พฺราหฺมเณหิ ด้วยพราหมณ์ ท. จตูหิ สี่ อิติ คือ ภทฺทิเยน จ ด้วยพราหมณ์ชื่อว่าภัททิยะด้วย วปฺเปน จ ด้วยพราหมณ์ชื่อวัปปะด้วย มหานาเมน จ ด้วยพราหมณ์ชื่อว่ามหานามะด้วย อสฺสชินา จ ด้วยพราหมณ์ชื่อว่าอัสสชิด้วย อุปฏฺฐหิตฺวา เข้าไปบำรุงแล้ว ตํ สตฺถารํ ซึ่งพระศาสดานั้น ทุกฺกรกิริยากรณกาเล ในการเป็นที่ทรงกระทำซึ่งทุกรกิริยา, ตสฺมึ สตฺถริ ครั้นเมื่อพระศาสดานั้น วิชหนฺเต ทรงละอยู่ ทุกฺกรกิริยํ ซึ่งทุกรกิริยา(แปลว่ากระทำซึ่งกรรมอันบุคคลกระทำได้โดยยาก) อปกมฺม หลีกไปแล้ว ตโต ฐานโต จากที่นั้น วิหนฺโต อยู่ๆ มิคทาเย ในป่าเป็นที่ให้อภัยแก่เนื้อ อิสิปตเน ชื่อว่าอิสิปตนะ(เป็นที่ตกแห่งฤาษี) พาราณสิยํ ใกล้เมืองพาราณสี ตสฺมึ ครั้นเมื่อพระศาสดานั้น ปตฺวา ทรงบรรลุแล้ว สมฺโพธึ ซึ่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้พร้อม(หรือซึ่งสัมโพธิญาณ) อาคนฺตฺวา มาแล้ว สนฺติกํ สู่สำนัก ตสฺส เถรสฺส แห่งพระเถระนั้น กเถนฺเต ตรัสอยู่ ปฐมเทสนํ ซึ่งปฐมเทศนา ปตฺวา บรรลุแล้ว โสตาปตฺติผลํ ซึ่งพระโสดปัตติผล สุตฺวา ฟังแล้ว เทสนํ ซึ่งพระเทศนา อปรํปิ แม้อื่นอีก ปติฏฺฐหิ ตั้งอยู่เฉพาะแล้ว อรหตฺเต ในพระอรหัตฯ(เลขใน) สเจ หากว่า อยํ สิทฺธตฺโถ อ. พระราชกุมารพระนามว่าสิทธัตถะนี้ อชฺฌาวสิสฺสติ จักอยู่ครอบครอง อคารํ ซึ่งเรือนไซร้ ราชา จกฺกวตฺติ จักเป็นพระราชาผู้จักรรรดิ ภวิสฺสติ จักเป็น สเจ ถ้าว่า อยํ สิตฺถตฺโถ อ. พระราชกุมารพระนามว่าสิทธัตถะนี้ ปพฺพชิสฺสติ จักผนวชไซร้ อรหํ เป็นพระอรหันต์ สมฺมาสมฺพุทฺโธ เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ โลเก ในโล ภวิสฺสติ จักเป็น ฯ

๔๘๖. กตรสฺมึ ภนฺเต คุเณ โส สตฺถารา ปสฏฺโฐติ. สพฺพปฐมสาวกภาเว อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กตรสฺมึ ภนฺเต คุเณ โส สตฺถารา ปสฏฺโฐ อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส เถโร อ. พระเถระนั้น สตฺถารา ปสฏฺโฐ เป็นผู้อันพระศาสดาทรงสรรเสริญแล้ว คุเณ ในคุณ กตรสฺมึ ไหน โหติ ย่อมเป็น ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว สพฺพปฐมสาวกภาเว อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส เถโร อ. พระเถระนั้น สตฺถารา ปสฏฺโฐ เป็นผู้อันพระศาสดาทรงสรรเสริญแล้ว สพฺพปฐมสาวกภาเว ในความเป็นผู้เป็นสวกองค์แรกแห่งสาวกทั้งปวง โหติ ย่อมเป็น ฯ

๔๘๗. โก ปน ภนฺเต ธมฺโม ตสฺส สหายเกหิ เถเรหิ อธิคโตติ. อรหตฺตํ อวุโสติติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว โก ปน ฯเปฯ เถเรหิ อธิคโต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ ธมฺโม อ. ธรรม โก อะไร เถเรหิ อันพระเถะ ท. สหายเกหิ ผู้เป็นสหาย ตสฺส อญฺญาโกณฺฑญฺญสฺส ของพระเถระชื่อว่าอัญญาโกณฑัญญะนั้น อธิคโต ถึงทับแล้วฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว อรหตฺตํ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อรหตฺตฺตํ อ. พระอรหัต เถเรหิ อันพระเถระ ท. สหายเกหิ ผู้เป็นสหาย ตสฺส อญฺญาโกณฺฑญฺญสฺส ของพระเถระชื่ออัญญาโกณฑัญญะนั้น อธิคตํ ถึงทับแล้วฯ

๔๘๘. กึ ปน โส ภนฺเต ภควโต ปรินิพานกาลโต ปุเร ปรินิพฺพายิ อุทาหุ ปจฺฉาติ. ปุเร อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว กึ ปน ฯเปฯ อุทาหุ ปัจฉา อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ โส อญฺญาโกณฺฑญฺญตฺเถโร อ. พระเถระชื่ออัญญาโกณฑัญญะนั้น ปรินิพฺพายิ ปรินิพพานแล้ว ปุเร ในกาลก่อน ปรินิพฺพานกาลโต แต่กาลเป็นที่เสด็จปรินิพพาน ภควโต แห่งพระผู้มีพระภาค กึ หรือ อุทาหุ หรือว่า โส อญฺญาโกณฺฑญฺญตฺเถโร อ. พระเถระชื่ออัญญาโกณฑัญญะนั้น ปรินิพฺพายิ ปรินิพพานแล้ว ปจฺฉา ในภายหลง ปรินิพฺพานกาลโต แต่กาลเป็นที่เสด็จปรินิพพาน ภควโต แห่งพระผู้มีพระภาค ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว ปุเร อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส อญฺญาโกณฺฑญฺญตฺเถโร อ. พระเถระชื่ออัญญาโกณฑัญญะนั้น ปรินิพฺพายิ ปรินิพพานแล้ว ปุเร ในกาลก่อน ปรินิพฺพานกาลโต แต่กาลเป็นที่เสด็จปรินิพพาน ภควโต แห่งพระผู้มีพระภาค ฯ

แปลไทยเป็นมคธ ข้อ ๔๗๑-ข้อ ๔๘๐


แปลไทยเป็นมคธ
ข้อ ๔๗๑-ข้อ ๔๘๐

๔๗๑. เธอถามแล้ว ซึ่งพระเถระ ยิ่งกว่านั้นว่า สังคายนา ทีแรก ทำแล้ว เมื่อไร? เมื่อพระผู้มีพระภาค นิพพานแล้ว สิ้น ๓ เดือน.
ตโต อุตฺตรึ โส เถรํ กทา ภนฺเต ปฐมสงฺคีติ กตาติ ปุจฺฉิ ฯ ตโย มาเส ภควโต ปรินิพฺพุตกาเล อาวุโสติ ฯ

๔๗๒. สังคายนา ทีแรกนั้น อันใครทำแล้วฯ อันพระอรหันต์ ท. ๕๐๐.
เกน สา ปฐมสังคีติ กตา ภนฺเตติ ฯปญฺจสเตหิ อรหนฺเตหิ อาวุโสติ ฯ

๔๗๓. ทำแล้ว ในที่ไหน ? ที่กรุงราชคฤห์.
กตฺถ กตา ภนฺเตติ ฯ ราชคเห อาวุโสติ ฯ

๔๗๔. ใคร เป็นประธาน ในสังคายนานั้น? พระมหากัสสปเถระด้วย พระอุบาลีเถระด้วย พระอานนท์ด้วย ได้เป็นประธานในสังคายนานั้น.
ตตฺถ ภนฺเต โก ปมุโข โหตีติ ฯ ตตฺถ อาวุโส มหากสฺสปตฺเถโร จ อุปาลิตฺเถโร จ อานนฺทตฺเถโร จ ปมุขา อเหสุนฺติ ฯ

๔๗๕. ใคร ชวนแล้ว ซึ่งพระอรหันต์ ท. นั้น เพื่ออันทำ ซึ่งสังคายนานั้น ? พระมหากัสสปเถระ.
โก ภนฺเต ตํ กาตุํ เต สมาทเปสีติ ฯ มหากสฺสปตฺเถโร อาวุโสติฯ

๔๗๖. ท่านปรารภแล้ว ซึ่งอะไร (จึง) ชวนแล้ว? ท่าน ปรารภ ซึ่งคำ ของบรรพชิตแก่ ชื่อสุภัททะ.
โส กึ อารพฺภ สมาเทเปสิ ภนฺเตติ ฯ โส สุภทฺทสฺส วุฑฺฒปพฺพชิตสฺส วจนํ อาวพฺภ อาวุโสติ ฯ

๔๗๗. เธอ ว่าแล้ว อย่างไร? เมื่อพระผู้มีพระภาค นิพพานแล้ว ๗ วัน พระมหากัสสปเถระ ยังไม่ทราบ ซึ่งความนั้น (จึง) มาแล้ว จากเมืองปาวา กับ ด้วยภิกษุ ท. มาก เพื่อจะเห็น ซึ่งพระผู้มีพระภาค เห็นแล้ว ซึ่งอาชีวก คนหนึ่ง ในระหว่างทาง ถามแล้ว ว่า ผู้มีอายุ ท่านรู้ ซึ่งข่าว ของพระศาสดาหรือ? อาชีวกนั้น บอกแล้ว ว่า ผู้มีอายุ พระศาสดาของท่าน ท. ปรินิพพานเสียแล้ว ๘ วัน.ภิกษุ ท. ผู้ปุถุชน ได้ฟังแล้ว ซึ่งความนั้น ร้องไห้แล้ว คร่ำครวญแล้ว. ในเธอ ท. บรรพชิตแก่ ชื่อสุภัททะ มีอยู่ องค์หนึ่ง, เธอห้ามเสียแล้ว ซึ่งภิกษุ ท. นั้น ว่า ผู้มีอายุ อย่าเลย, ท่าน ท. อย่าร้องไห้เลย, ท่าน ท. อย่าคร่ำครวญเลย, เมื่อพระศาสดา ยังอยู่, เรา ท. มิอาจ เพื่อจะทำ ซึ่งกรรม อันพระองค์ ห้ามแล้ว, เดี๋ยวนี้ เรา ท. ครั้นเมื่อพระองค์ ปรินิพพานแล้ว ปรารถนา เพื่อจะทำ ซึ่งสิ่งใด (ก็) จงจำ ซึ่งสิ่งนั้น.พระมหากัสสปเถระ ปรารภ ซึ่งคำ ของ บรรพชิตแก่นี้ (จึง) ชักชวนแล้ว ซึ่งพระอรหันต์ ท. เหล่านั้น เพื่อจะทำ ซึ่งสังคายนา.
กถํ โส กเถสิ ภนฺเตติ ฯ อาวุโส ภควติ สตฺตาหํ ปรินิพฺพุเต, มหากสฺสปตฺเถโร ตมตฺถํ อชานนฺโต มหนฺเตหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ ปาวาย ภควโต ทสฺสนาย อาคนฺตฺวา อนฺตรามคฺเค เอกํ อาชีวํ ทิสฺวา กึ อาวุโส สตฺถุโน สาสนํ ชานาสีติ ปุจฺฉิ ฯ โส ตุมฺหากํ สตฺถา สตาหํ ปรินิพฺพุโต อาวุโสติ กเถสิ ฯ ปุถุชฺชนา ภิกฺขู ตมตฺถํ สุตฺวา โรทิตฺวา ปริเทวึสุ ฯ เตสุ เอโก สุภทฺโท นาม วุฑฺฒปพฺพชิโต อตฺถิ, โส เต มา อาวุโส โรทิตฺถ, มา ปริเทวิตฺถ, สตฺถริ ธรมาเน, เตน นิวาริตํ กมฺมํ กาตุํ น สกฺโกม, อิทานิ มยํ, ตสฺมึ ปรินิพฺพุเต, ยํ กาตุํ อิจฉาม, ตํ กโรมาติ นิวาเรสิ ฯ มหากสฺสปตฺเถโร อิมสฺส วุฑฺฒปพฺพชิตสฺส วจนํ อารพฺภ สงคายนํ กาตุํ เต สมาทเปสีติ ฯ

๔๗๘. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ พระอรหันต์ ท. นั้น ทำแล้ว ซึ่งสังคายนา อย่างไร? พระอรหันต์ ท. นั้น ประชุมพร้อม ในที่แห่งหนึ่ง ครั้งนั้น พระมหากัสสปเถระ ถามแล้ว ซึ่งวินัย กะพระอุบาลีเถระ, ครั้นเมื่อวินัย อันท่าน วิสัชนาแล้ว, ถามแล้ว ซึ่งธรรม กะพระอานนทเถระ, ท่านวิสัชนาแล้ว ซึ่งธรรมนั้น, พระเถระ ท. นั้น ร้อยกรองแล้ว ซึ่งธรรมด้วย ซึ่งวินัยด้วย นั้น ตามนัยอันพระเถระ ท. ๒ กล่าวแล้ว ตั้งไว้แล้ว ให้เป็นแบบแผน.
กถํ ภนฺเต สงฺคายนํ เต อกํสูติ ฯ เอกสฺมึ ฐาเน สนฺนิปตนฺติ อาวุโส, อถ มหากสฺสปสฺสตฺเถโร อุปาลิตฺเถรํ วินยํ ปุจฺฉิ, เตน วินเย วิสชฺชิเต, อานนฺทตฺเถรํ ธมฺมํ ปุจฺฉิ, โส ตํ วิสชฺเชสิ, เต เถรา ทวีหิ เถเรหิ วุตฺตนเยน ตํ ธมฺมญฺจ วินยญฺจ สงคายิตฺวา ตนฺตึ ฐเปสุนฺติ ฯ

๔๗๙. ใคร ได้เป็นผู้อุปการะ ของพระเถระ ท. เหล่านั้น? ได้ยินว่า พระเจ้าอชาตศัตรู.
โก ภนฺเต เตสํ เถรานํ อุปการโก อโหสีติ ฯ อชาตสตฺตุ กิร ราชา อาวุโสติ ฯ

๔๘๐. สังคายนา นั้น ทำแล้ว โดยกาล เท่าใด? โดยเดือน ท. ๗.
สา กิตฺตเกน กาเลน กตา ภนฺเตติฯ สตฺเตหิ มาเสหิ อาวุโสติ ฯ

Followers

Flagcounter

free counters

Speedy

SplashDirectory.comFree Counter