Google

Thursday, December 5, 2019

แปลยมคธเป็นไทย ข้อ๕๒๑- ข้อ ๕๒๕


แปลยมคธเป็นไทย
ข้อ๕๒๑- ข้อ ๕๒๕

๕๒๑. สาธุ เม ภนฺเต อปรสฺสาปิ เถรสฺส คุณํ ปกาเสถาติ. มหากจฺจายนตฺเถโร อาวุโส สตฺถารา สงฺขิตฺเตน ภาสิตสฺส วิตฺถาเรน อตฺถํ วิภชนฺตานํ สาวกานํ อคฺโคติ ปสฏฺโฐติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ อาห กล่าวแล้ว สาธุ เม ภนฺเต อปรสฺสาปิ เถรสฺส คุณํ ปกาเสถ อิติ ว่าดังนี้
สาธุ อ. ดีละ ตุมเห อ. ท่าน ท. ปกาเสถ ขอจงประกาศ คุณํ ซึ่งคุณ เถรสฺส แห่งพระเถระ อปรสฺสาปิ แม้อื่นอีก เม แก่กระผม ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว มหากจฺจายนตฺเถโร ฯเปฯ ปสฏฺโฐ อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ มหากจฺจายนตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่ามหากัจจายนะ สตฺถารา อันพระศาสดา ปสฏฺโฐ ทรงสรรเสริญแล้ว สงฺขิตฺเตน ฯเปฯ อคฺโค อิติ ว่า เป็นผู้เลิศแห่งพระสาวก ท. ผู้จำแนกอยู่ซึ่งเนื้อความแห่งพระดำรัสอันอันพระศาสดาตรัสแล้วโดยย่อ โดยพิสดาร ดังนี้ฯ

๕๒๒."กสฺส ปุตฺโต ภนฺเตติ. อุชฺเชนิยํ ปุโรหิตสฺส อาวุโสติ.
วิธุโร อ.ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กสฺส ปุตฺโต ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส มหากจฺจายนตฺมหาเถโร อ. พระเถระชื่อว่ามหากัจจายนะนั้น ปุตฺโต เป็นบุตร กสฺส ของใคร โหติ ย่อมเป็น
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว อุชฺเชนิยํ ปุโรหิตสฺส อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส มหากจฺจายนตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่ามหากัจจายนะนั้น ปุตฺโต เป็นบุตร ปุโรหิตสฺส ของปุโรหิต อุชฺเชนิยํ ในพระนครอุชเขนี โหติ ย่อมเป็น ฯ

๕๒๓. คิหิกาเล กินติ สญฺชานึสุ ภนฺเตติ.นามวเสน กาญฺจโนติ จ โคตฺตวเสน กจฺจายโนติ จ อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว คิหืกาเล กินติ นํ สญฺชานึสุ ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านู้เจริญ ชนา อ. ชน ท. สญฺชานึสุ รู้พร้อมแล้ว นํ เถรํ ซึ่งพระเถระนั้น กึ อิติ ว่า อ. อะไร ดังนี้ คิหิกาเล ในกาลแห่งพระเถระนั้นเป็นคฤหัสถ์ ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว นามวเสน ฯเปฯ จ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ชนา อ. ชน ท. สญฺชานึสุ รู้พร้อมแล้ว นํ เถรํ ซึ่งพระเถระนั้น นามวเสน กาญฺจโน อิติ จ ว่า อ.กุมารชื่อว่ากาญจนะ ดังนี้ ด้วยอำนาจแห่งชื่อด้วย โคตฺเตน กจฺจายโน อิติ จ ว่า อ.กุมารชื่อว่ากัจจายนะ ดังนี้ ด้วยอำนาจแห่งโคตรด้วย คิหิกาเล ในกาลแห่งพระเถระเป็นคฤหัสถ์

๕๒๔. กถํ ตสฺส ปพฺพชฺชา ภนฺเตติ. จณฺฑปฺปชฺโชโต อาวุโส ราชา ตสฺส ปิตุ อจฺจเยน ปุโรหิตฐานํ อทาสิ. ราชา พุทฺธสฺส อุปฺปนฺนภาวํ สุตฺวา อมจฺเจ สนฺนิปาเตตฺวา ปุจฉิ พุทฺโธ ภเณ โลเก อุปฺปนฺโน, โก ตํ อาเนตุ(ตุง) สกฺขิสฺสตีติ. เต เอวมาหํสุ เทว อญฺโญ ทสพลํ อาเนตุ(ตุง) สมตฺโถ นาม นตฺถิ, กจฺจายโน อาจริโย ว สมฏฺโฐ, ตํ เทโว ปหิณตูติ โส ตํ ปกฺโกเสาเปตฺวา พฺราหฺมณ ทสพลสฺส สนฺติกํ คนฺตฺวา ตํ อาเนหีติ อาห . สเจ ปพฺพชิต(ตุง) ลภิสฺสามิ คสิสฺสามิ เทวาติ. ราชา สาธูติ สมปฏิจฺฉิ. โส สตฺตหิ ชเนหิ สทฺธึ สตฺถุ สนฺติกํ อคมาสิ. อถสฺส สตฺถา ธมฺมํ เทเสติ. เทสนาปริโยสาเน สตฺตหิ ชเนหิ สทฺธึ อรหตฺตํ ปาปุณิ. สตฺถา เอถ ภิกฺขโวติ เนสํ อุปสมฺปทํ อนุญฺญาสิ. เอวํ ตสฺส ปพฺพชฺชาติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กถํ ตสฺส ปพฺพชฺชา ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปพฺพชฺชา อ. การบวช ตสฺส มหากจฺจายนตฺเถรสฺส ของพระเถระชื่อว่ามหากัจจายนะนั้น กถํ อย่างไรฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว จณฺฑปฺปชฺโชโต อาวุโส ฯเปฯ เอวํ ตสฺส ปพฺพชฺชา อิติ ว่าดังนี้ อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ราชา อ. พระชา จณฺฑปฺปชฺโชโต พระนามว่าจัณฑปัชโชติ อทาสิ ได้พระราชทานแล้ว ปุโรหิตฏฺฐานํ ซึ่งตำแหน่งแห่งปุโรหิต อจฺจเยน โดยกาลที่ล่วงไป ปิตุโน แห่งบิดา ตสฺส มหากจฺจายนตฺเถรสฺส ของพระเถระชื่อว่ามหากัจจายนะนั้น ฯ ราชา อ. พระราชา สุตฺวา ทรงสดับแล้ว พุทฺธสฺส อุปฺปนฺนภาวํ ซึ่ งความที่แห่งพระพุทธเจ้าเสด็จอุบัติแล้ว อมจฺเจ ยังอำมาตย์ ท. สนฺนิปาเตตฺวา ให้ประชุมกันพร้อมแล้ว ปุจฺฉิ ตรัสถามแล้ว พุทฺโธ ฯเปฯ สกฺขิสฺสตี อิติ ว่าดังนี้ ภเณ แน่ะพนาย พุทฺโธ อ. พระพุทธเจ้า อุปฺปนฺโน เสด็จอุบัติแล้ว โลเก ในโลก โก อ. ใคร สกฺขิสฺสติ จักอาจ อาเนตุ(ตุง) เพื่ออันนำมา ตํ พุทฺธํ ซึ่งพระพุทธเจ้านั้น ฯ เต อมจฺจา อ. อำมาตย์ ท. เหล่านั้น อาหํสุ กราบทูลแล้ว เอวํ อย่างนี้ เทว อญฺโญ ฯเปฯ เทโว ปหิณตุ อิติ ว่าดังนี้ เทว ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ อญฺโญ ปุคฺคโล อ. บุคคลอื่น สมตฺโถ นาม ชื่อว่าผู้สามารถ อาเนต(ตุง) เพื่ออันนำมา ทสพลํ ซึ่งพระทศพล นตฺถิ ย่อมไม่มี อาจริโย อ. อาจารย์เทียว กจฺจายโน ชื่อว่า กัขจายนะ สมตฺโถ เป็นผู้สามารถ โหติ ย่อมเป็น เทโว อ. พระผู้สมมติเทพ ปหิณตุ ขอจงส่งไป ตํ กจฺจายนํ ซึ่งอาจารย์ชื่อว่ากัจจายนะนั้น ฯ โส ราชา อ. พระราชานั้น ปกฺโกสาเปตฺวา รับสั่งให้เรียกแล้ว ตํ กจฺจายนํ ซึ่งปุโรหิตชื่อว่ากัจจายนะนั้น อาห ตรัสแล้ว พฺราหฺมณ ฯเปฯ อาเนหิ อิติ ว่าดังนี้ พฺ ราหฺมณ ดูก่อนพราหมณ์ ตฺวํ อ. ท่าน คนฺตฺวา ไปแล้ว สนฺติกํ สู่สำนัก ทสพลสฺส แห่งพระทศพล อาเหิ จงนำมา ตํ ทสพลํ ซึ่งพระทศพลนั้น ฯ โส กจฺจายโน อ. ปุโรหิตชชิ่อว่ากัจจายนะนั้น อาห กราบทูลแล้ว สเจ ฯเปฯ เทว อิติ ว่าดังนี้ เทว ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ สเจ ถ้าว่า อหํ อ.ข้าพระองค์ ลภิสฺสามิ จักได้ ปพฺพชิตุ(ตุง) เพื่ออันบวชไซร้ อ. ข้าพระองค์ คมิสฺสามิ จักไป ฯ ราชา อ. พระราชา สมฺปฏิจฺฉิ ทรงรับพร้อมแล้ว สาธุ อิติ ว่า อ.ดีละ ดังนี้ ฯ
โส กจฺจายโน อ. ปุโรหิตชื่อว่ากัจจายนะนั้น อคมาสิ ได้ไปแล้ว สู่สำนัก สตฺถุ แห่งพระศาสดา สทฺธึ กับ ชเนหิ ด้วยชน ท. เจ็ดฯ อถ ครั้งนั้น สตฺถา อ. พระศาสดา เทเสสิ ทรงแสดงแล้ว ธมฺมํ ซึ่งธรรม ตสฺส กจฺจายนสฺส แก่ปุโรหิตชือว่ากัจจายนะนั้น ฯ โส กจฺจายโน อ. ปุโรหิตชื่อว่ากัจจายนะนั้น ปาปุณิ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ สทฺธึ กับ ชเนหิ ด้วยชน ท. สตฺตหิ เจ็ด เทสนาปริโยสเน ในกาลเป็นที่สุดลงรอบแห่งเทศนา ฯ สตฺถา อ. พระศาสดา อนุญฺญาสิ ทรงอนุญาตแล้ว อุปสมฺปทํ ซึ่งการอุปสมบท เนสํ ชนานํ แก่ชน ท. เหล่านั้น วจเนน ด้วยพระดำรัส เอถ ภิกฺขโว อิติ ว่าดังนี้ ตมฺเห อ. เธอ ท. ภิกฺขเว เป็นภิกษุ หุตฺวา เอถ จงมา(ภิกฺขโว ดูก่อนภิกษุ ท. ตุมฺเห อ. เธอ ท. เอถ จงมา แปลอย่างนี้ก็ได้) ฯ ปพฺพชฺชา อ.การบวช ตสฺส มหากจฺจายนตฺเถรสฺส แห่งพระเถระชื่อมหากัจจายนะนั้น โหติ ย่อมมี เอวํ อย่างนี้ ฯ

๕๒๕. กึ โส ปพฺชิตฺวา สตฺถารํ อุชฺเชนึ อาเนสีติ. โส สตฺถารํ อุชฺเชนึ คนฺตุ(ตุง) ยาจิฯ สตฺถา ปน สยํ อคนฺตฺวา ตเยว ปหิณิ. โส สตฺถารํ อาปุจฺฉิตฺวา อตฺตนา สห อาคเตเหว สตฺตหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ อุชฺเชนึ คนฺตฺวา ราชานํ ปสาเทสีติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว กึ โส ปพฺพชิตฺวา สตฺถารํ อุชฺเชนึ อาเนสิ อิติ ว่าดังนี้
โส มหากจฺจายนตฺเถโร อ. พระเถระชท่อว่ามหากัจจายนะนั้น ปพฺพชิตฺวา ครั้นบวชแล้ว อาเนสิ นำมาแล้ว สตฺถารํ ซึ่งพระศาสดา อุชฺเชนึ สู่พระนครชื่อว่าอุชเชนี กึ หรือ ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว โส สตฺถารํ ฯเปฯ ราชานํ ปสาเทสิ อิติ ว่าดังนี้
โส มหากจฺจายนตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่ามหากัจจายนะนั้น ยาจิ ทูลวิงวอนแล้ว สตฺถารํ ซึ่งพระศาสดา คนฺตุ(ตุง) เพื่ออันเสด็จไป อุชฺเชนึ สู่พระนครชื่อว่าอุชเชนี ฯ ปน แต่ว่า สตฺถา อ. พระศาสดา อคนฺตฺวา ไม่เสด็จไปแล้ว สยํ เอง ปหิณิ ทรงส่งไปแล้ว ตํ เถรํ เอว ซึ่งพระเถระนั้นนั่นเทียว ฯ
โส เถโร อ. พระเถระนั้น อาปุจฉิตฺวา ทูลลาแล้ว สตฺถารํ ซึ่งพระศาสดา คนฺตฺวา ไปแล้ว อุชฺเชนึ สู่พระนครชื่อว่าอุชเชนี สทฺธึ กับ ภิกฺขูหิ ด้วยภิกษุ ท. สตฺตหิ เจ็ด อตฺตนา สห อาคเตหิ เอว ผู้มาแล้วกับด้วยตนนั่นเทียว ราชายํ ยังพระราชา ปสาเทสิ ให้เลื่อมใสแล้ว ฯ

No comments:

Post a Comment

Followers

Flagcounter

free counters

Speedy

SplashDirectory.comFree Counter