Google

Thursday, December 5, 2019

แปลมคธเป็นไทย ข้อ ๔๘๑-ข้อ ๔๘๘


แปลมคธเป็นไทย
ข้อ ๔๘๑-ข้อ ๔๘๘

๔๘๑.กิตฺตกา ปน ภนฺเต ภควโต สาวกา เตสุ เตสุ คุเณสุ เตน ปสฏฺฐาติ. เอกจตฺตาฬีสํ อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กิตฺตกา ปน ฯปฯ เตน ปสฏฺฐา อิติ ว่าดังนี้.
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ สาวกา อ. พระสาวก ท. ภควโต ของพระผู้มีพระภาค กิตฺตกา มีประมาณเท่าไร เตน ปสฏฺฐา เป็นผู้อันพระผู้มีพระภานั้น ทรงสรรเสริญแล้ว คุเณสุ ในคุณ ท. เตสุ เตสุ เหล่านั้นๆ โหนฺติ ย่อมเป็น ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว เอกจฺจาฬีสํ อาวุโสติ อติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ สาวกา อ. สาวก ท. ภควโต ของพระผู้มีพระภาค เอกจตฺตาฬีสํ สี่สิบเอ็ด เตน ปสฏฺฐา เป็นผู้อันพระผู้มีพระภาคนั้น สรรเสริญแล้ว คุเณสุ นคุณ ท. เตสุ เตสุ เหล่านั้น ๆ โหนฺติ ย่อมเป็น ฯ

๔๘๒. เตสํ นามานิ โสตุํ อิจฺฉามิ ภนฺเต, สาธุ เม ภนฺเต กเถถาติ. เตนหิ สุโณหิ, กเถสฺสามิ, อญฺญาโกณฺฑญฺญตฺเถโร เตสํ ปาโมกฺโข อโหสีติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ อาห กล่าวแล้ว เตสํ นามานิ ฯปฯ ภนฺเต กเถถ อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อหํ อ. กระผม อิจฺฉามิ ย่อมปรารถนา โสตุ(ตุง) เพื่ออันฟัง นามานิ ซึ่งชื่อ ท. เตสํ สาวกานํ ของพระสาวกท. เหล่านั้น, ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ สาธุ อ. กรรมอันยังประโยชน์ให้สำเร็จ ตุมฺเห อ. ท่าน กเถถ ขอจงบอก เม แก่กระผม ฯ
เถโร อ.พระเถระ อาห กล่าวแล้ว เตนหิ สุเณหิ ฯเปฯ ปาโมกฺโข อโหสิ ว่าดังนี้
เตนหิ ถ้าอย่างนั้น ตฺวํ อ. ท่าน สุโณหิ จงฟัง อหํ อ. เรา กเถสฺสามิ จักบอก, อญฺญาโกณฺฑญญตฺเถโร อ. พระเถระชื่ออัญญาโกณฑัญญะ เตสํ ปาโมกฺโข เป็นผู้เป็นหัวหน้าด้วยอำนาจแห่งความเป็นประธาน แห่งพระสาวก ท. เหล่านั้น อโหสิ ได้เป็นแล้วฯ

๔๘๓. นนุ โส ภนฺเต ปุพฺเพ ตุมฺเหหิ โกณฺฑญฺโญติ กถิโต, อถ กสฺมา อญฺญาโกณฺฑญฺโญติ กเถถ? กึ โส เทฺว นามานิ อลตฺถาติ. ปุพฺเพ โส อาวุโส อญฺญาโกณฺฑญฺโญติ ปญฺญายิ, ยทา โส ธมฺมํ ปฏิวิชฺฌิ, ตทา ภควา อญฺญาสิ วต โภ โกณฺฑญฺโญติ อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ, ตโต ปฏฺฐาย โส .อญฺญาโกณฑญฺโตติ ปญฺญายีติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว นนุ โส ฯเปฯ นามานิ อลตฺถา อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส เถโร อ. พระเถระนั้น ตุมเหหิ อันท่าน กถิโต กล่าวแล้ว โกณฑญฺโญ อิติ ว่า อ. พระเถระชื่อโกญฑัญญะ ดังนี้ ปุพฺเพ ในก่อน นนุ มิใช่หรือ , อถ ภาเว ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น สนฺเต มีอยู่, ตุมเห อ. ท่าน กเถถ ย่อมกล่าวว่า อญฺญาโกณฺฑญฺโญ อิติ ว่า อ. พระเถระชื่อว่าอัญญาโกณฑัญญะ ดังนี้ กสฺมา เพราะเหตุไร? โส เถโร อ. พระเถระนั้น อลตฺถ ได้ได้แล้ว นามานิ ซึ่งชื่อ ท. เทฺว สอง กึ หรือ ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว ปุพฺเพ โส อาวุโส ฯเปฯ ปญฺญายิ อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปญฺยายิ ปรากฏแล้ว โกณฺฑญฺโญ อิติ ว่า อ. พระเถระชื่อว่าโกณฑัญญะ ดังนี้ ปุพฺเพ ในก่อน, โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปฏิวิชฺฌิ แทงตลอดแล้ว ธมฺมํ ซึ่งธรรม ยทา ในกาลใด, ภควา อ. พระผู้มีพระภาค อุทาเนสิ ทรงเปล่งแล้ว อุทานํ ซึ่งอุทาน อิมํ นี้ อญฺญาสิ ฯเปฯ โกณฺฑญฺโญ อิติ ว่าดังนี้ ตทาในกาลนั้น โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปญฺญายิ ปรากฏแล้ว อญฺญาโกณฑญฺโญ อิติ ว่า อ. พระเถระชื่อว่าอัญญาโกณฑัญญะ ดังนี้ ปฏฺฐาย จำเดิม ตโต กาลโต แต่กาลนั้น,(เลขใน) โภ ดูก่อนท่านผู้เจริญ ท. โกณฺฑญฺโญ อ. พระเถระชื่อว่าโกณฑัญญะ อญฺญาสิ วต ได้รู้แล้วหนอฯ

๔๘๔. กตรสฺมา กุลา โส ปพฺพชิโต ภนฺเตติ. พฺราหฺมณกุลา อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กตรสฺมา กุลา โส ปพฺพชิโต ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปพฺพชิโต บวชแล้ว กุลา จากตระกูล กตรสฺมา ไหน ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว พฺราหฺมณกุลา อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปพฺพชิโต บวชแล้ว พฺราหฺมณกุลา จากตระกูลแห่งพราหมณ์ ฯ

๔๘๕. เกน ภนฺเต การเณนติ. ปุพฺเพ โส อาวุโส พฺราหฺมโณ หุตฺวา ติณฺณํ เวทานํ ปารํ ปตฺวา, สตฺถริ มาตุ กุจฺฉิโต นิกฺขนฺเต, ตสฺส ทฺวตฺตึสมหาปุริสลกฺขณานิ ทิสฺวา สจายํ อคารํ อชฺฌาวสิสฺสติ, ราชา ภวิสฺสติ จกฺกวตฺติ, สเจ ปพฺพชิสฺสติ, โลเก อรหํ ภวิสฺสติ สมฺมาสมฺพุทฺโธติ พฺราหฺมณมนฺเต อาคตนเยน สนฺนิฏฺฐานํ กตฺวา, ตสฺมึ ปพฺพชิเต, ภทฺทิเยน จ วปฺเปน จ มหานาเมน จ อสฺสชินา จาติ จตูหิ พฺราหฺมเณหิ สทฺธึ อนุปพฺชิตฺวา ทุกฺกรกิริยากรณกาเล ตํ อุปฏฺฐิหิตฺวา, ตสฺมึ ทุกฺกรกิริยํ วิชหนฺเต, ตโต อปกมฺม พาราณสิยํ อิสิปตเน มิคทาเย วิหรนฺโต, ตสฺมึ สมฺโพธึ ปตฺวา ตสฺส สนฺติกํ อาคฺตฺวา ปฐมเทสนํ กเถนฺเต, โสตาปตฺติผลํ ปตฺวา อปรํปิ เทสนํ สุตฺวา อรหตฺเต ปติฏฺฐหีติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว เกน ภนฺเต การเณน อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส เถโร อ. พระเถระนั้น ปพฺพชิโต บวชแล้ว การเณน เพราะเหตุ เกน อะไร ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว ปุพฺเพ โน ฯเปฯ อรหตฺโต ปติฏฺฐหิ อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส เถโร อ. พระเถระนั้น พฺราหฺมโณ เป็นพราหมณ์ หุตฺวา เป็น ปุพฺเพ ในก่อน ปตฺวา ถึงแล้ว ปารํ ซึ่งฝั่ง เวทานํ แห่งเวท ท. ติณฺณํ สาม , กตฺถริ ครั้นเมื่อพระศาสดา นิกฺขนฺเต เสด็จออกแล้ว กุจฺฉิโต จากพระอุทร มาตุ แห่งมารดา ทิสฺวา เห็นแล้ว ทวตฺตึสมหาปุริสลกฺขณานิ ซึ่งมหาปุริสลักษณะสามสิบสอง ท. ตสฺส สตฺถุโน ของพระศาสดานั้น กตฺวา กระทำแล้ว สนฺนิฏฐานํ ซึ่งความสันนิษฐาน สจายํ อคารํ ฯเปฯ สมฺมาสมฺพุทฺโธ อิติ ว่าดังนี้ พฺรหฺมณมนฺเต อาคตนเยน โดยนัยแห่งคำอันมาแล้วในมนต์แห่งพราหมณ์ ตสฺมึ สตฺถริ ครั้นเมื่อพระศาสดานั้น ปพฺพชิเต ผนวชแล้ว อนุปพฺพชิตฺวา บวชตามแล้ว สทฺธึ กับ พฺราหฺมเณหิ ด้วยพราหมณ์ ท. จตูหิ สี่ อิติ คือ ภทฺทิเยน จ ด้วยพราหมณ์ชื่อว่าภัททิยะด้วย วปฺเปน จ ด้วยพราหมณ์ชื่อวัปปะด้วย มหานาเมน จ ด้วยพราหมณ์ชื่อว่ามหานามะด้วย อสฺสชินา จ ด้วยพราหมณ์ชื่อว่าอัสสชิด้วย อุปฏฺฐหิตฺวา เข้าไปบำรุงแล้ว ตํ สตฺถารํ ซึ่งพระศาสดานั้น ทุกฺกรกิริยากรณกาเล ในการเป็นที่ทรงกระทำซึ่งทุกรกิริยา, ตสฺมึ สตฺถริ ครั้นเมื่อพระศาสดานั้น วิชหนฺเต ทรงละอยู่ ทุกฺกรกิริยํ ซึ่งทุกรกิริยา(แปลว่ากระทำซึ่งกรรมอันบุคคลกระทำได้โดยยาก) อปกมฺม หลีกไปแล้ว ตโต ฐานโต จากที่นั้น วิหนฺโต อยู่ๆ มิคทาเย ในป่าเป็นที่ให้อภัยแก่เนื้อ อิสิปตเน ชื่อว่าอิสิปตนะ(เป็นที่ตกแห่งฤาษี) พาราณสิยํ ใกล้เมืองพาราณสี ตสฺมึ ครั้นเมื่อพระศาสดานั้น ปตฺวา ทรงบรรลุแล้ว สมฺโพธึ ซึ่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้พร้อม(หรือซึ่งสัมโพธิญาณ) อาคนฺตฺวา มาแล้ว สนฺติกํ สู่สำนัก ตสฺส เถรสฺส แห่งพระเถระนั้น กเถนฺเต ตรัสอยู่ ปฐมเทสนํ ซึ่งปฐมเทศนา ปตฺวา บรรลุแล้ว โสตาปตฺติผลํ ซึ่งพระโสดปัตติผล สุตฺวา ฟังแล้ว เทสนํ ซึ่งพระเทศนา อปรํปิ แม้อื่นอีก ปติฏฺฐหิ ตั้งอยู่เฉพาะแล้ว อรหตฺเต ในพระอรหัตฯ(เลขใน) สเจ หากว่า อยํ สิทฺธตฺโถ อ. พระราชกุมารพระนามว่าสิทธัตถะนี้ อชฺฌาวสิสฺสติ จักอยู่ครอบครอง อคารํ ซึ่งเรือนไซร้ ราชา จกฺกวตฺติ จักเป็นพระราชาผู้จักรรรดิ ภวิสฺสติ จักเป็น สเจ ถ้าว่า อยํ สิตฺถตฺโถ อ. พระราชกุมารพระนามว่าสิทธัตถะนี้ ปพฺพชิสฺสติ จักผนวชไซร้ อรหํ เป็นพระอรหันต์ สมฺมาสมฺพุทฺโธ เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ โลเก ในโล ภวิสฺสติ จักเป็น ฯ

๔๘๖. กตรสฺมึ ภนฺเต คุเณ โส สตฺถารา ปสฏฺโฐติ. สพฺพปฐมสาวกภาเว อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กตรสฺมึ ภนฺเต คุเณ โส สตฺถารา ปสฏฺโฐ อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โส เถโร อ. พระเถระนั้น สตฺถารา ปสฏฺโฐ เป็นผู้อันพระศาสดาทรงสรรเสริญแล้ว คุเณ ในคุณ กตรสฺมึ ไหน โหติ ย่อมเป็น ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว สพฺพปฐมสาวกภาเว อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส เถโร อ. พระเถระนั้น สตฺถารา ปสฏฺโฐ เป็นผู้อันพระศาสดาทรงสรรเสริญแล้ว สพฺพปฐมสาวกภาเว ในความเป็นผู้เป็นสวกองค์แรกแห่งสาวกทั้งปวง โหติ ย่อมเป็น ฯ

๔๘๗. โก ปน ภนฺเต ธมฺโม ตสฺส สหายเกหิ เถเรหิ อธิคโตติ. อรหตฺตํ อวุโสติติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว โก ปน ฯเปฯ เถเรหิ อธิคโต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ ธมฺโม อ. ธรรม โก อะไร เถเรหิ อันพระเถะ ท. สหายเกหิ ผู้เป็นสหาย ตสฺส อญฺญาโกณฺฑญฺญสฺส ของพระเถระชื่อว่าอัญญาโกณฑัญญะนั้น อธิคโต ถึงทับแล้วฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว อรหตฺตํ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อรหตฺตฺตํ อ. พระอรหัต เถเรหิ อันพระเถระ ท. สหายเกหิ ผู้เป็นสหาย ตสฺส อญฺญาโกณฺฑญฺญสฺส ของพระเถระชื่ออัญญาโกณฑัญญะนั้น อธิคตํ ถึงทับแล้วฯ

๔๘๘. กึ ปน โส ภนฺเต ภควโต ปรินิพานกาลโต ปุเร ปรินิพฺพายิ อุทาหุ ปจฺฉาติ. ปุเร อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว กึ ปน ฯเปฯ อุทาหุ ปัจฉา อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ โส อญฺญาโกณฺฑญฺญตฺเถโร อ. พระเถระชื่ออัญญาโกณฑัญญะนั้น ปรินิพฺพายิ ปรินิพพานแล้ว ปุเร ในกาลก่อน ปรินิพฺพานกาลโต แต่กาลเป็นที่เสด็จปรินิพพาน ภควโต แห่งพระผู้มีพระภาค กึ หรือ อุทาหุ หรือว่า โส อญฺญาโกณฺฑญฺญตฺเถโร อ. พระเถระชื่ออัญญาโกณฑัญญะนั้น ปรินิพฺพายิ ปรินิพพานแล้ว ปจฺฉา ในภายหลง ปรินิพฺพานกาลโต แต่กาลเป็นที่เสด็จปรินิพพาน ภควโต แห่งพระผู้มีพระภาค ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว ปุเร อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส อญฺญาโกณฺฑญฺญตฺเถโร อ. พระเถระชื่ออัญญาโกณฑัญญะนั้น ปรินิพฺพายิ ปรินิพพานแล้ว ปุเร ในกาลก่อน ปรินิพฺพานกาลโต แต่กาลเป็นที่เสด็จปรินิพพาน ภควโต แห่งพระผู้มีพระภาค ฯ

No comments:

Post a Comment

Followers

Flagcounter

free counters

Speedy

SplashDirectory.comFree Counter