Google

Thursday, December 5, 2019

แปลมคธเป็นไทย ข้อ ๕๐๑-๕๑๓


แปลมคธเป็นไทย
ข้อ ๕๐๑-๕๑๓

๕๐๑. สาธุ เม ภนฺเต อปรสฺสาปิ เถรสฺส คุณํ ทสฺเสถาติ. สารีปุตฺตตฺเถโร อาวุโส มหาปญฺญภาเว สตฺถารา ปสฏฺโฐ อโหสิ, โมคฺคลฺลานตฺเถโร มหิทฺธิกภาเวติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ อาห กล่าวแล้ว สาธุ เม ภนฺเต อปรสฺสาปิ เถรสฺส คุณํ ทสฺเสถ อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ สาธุ อ. ดีละ ตุมฺเห อ. ท่าน ทสฺเสถ ขอจงแสดง คุณํ ซึ่งคุณ เถรสฺส แห่งพระเถระ อปรสฺสาปิ แม้อื่นอีก เม แก่กระผม ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว สารีปุตฺตตฺเถโร ฯเปฯ มหิทฺธิกภาเว อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ สารีปุตฺตตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตร สตฺถารา ปสฏฺโฐ เป็นผู้อันพระศาสดา ทรงสรรเสริญแล้ว มหาปญฺญภาเว ในเพราะความเป็นผู้มีปัญญามาก อโหสิ ได้เป็นแล้ว, โมคฺคลฺลานตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าโมคคัลลานะ สตฺถารา ปสฏฺโฐ เป็นผู้อันพระศาสดาทรงสรรเสริญแล้ว มหิทฺธิกภาเว ในเพราะความเป็นผู้มีฤทธิ์มาก อโหสิ ได้เป็นแล้ว ฯ

๕๐๒. กึ เต อญฺญมญฺญสฺส ภาตโร โหนฺต ภนฺเตติ. นาวุโส, เต ปน อญฺญมญฺญสฺส สหายกาติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กึ ปน เต ฯเปฯ โหนฺติ อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ เต เทฺว เถรา อ. พระเถระ ท. สอง เหล่านั้น อญฺญมญฺญสฺส ภาตโร เป็นพี่น้องชายของกันและกัน โหนฺติ ย่อมเป็น กึ หรือ ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว นาวุโส เต ปน อญฺญมญฺญสฺส สหายกา อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ เต เทฺว เถรา อ. พระเถระ ท. สอง อญฺญมญฺญสฺส ภาตโร เป็นพี่น้องชายของกันและกัน โหนฺติ ย่อมเป็น น หามิได้, ปน แต่ว่า เต เทฺว เถรา อ. พระเถระ ท. สอง เหล่านั้น อญฺญมญฺญสฺส สหายกา เป็นผู้เป็นสหาย แห่งกันและกัน โหนฺติ ย่อมเป็น ฯ

๕๐๓. กตรสฺมึ ภนฺเต กุเล สารีปุตฺตตฺเถโร ชาโต, โก ตสฺส ปิตา, กา จ มาตาติ. วงฺคนฺตพฺราหฺมณกุเล อาวุโส ชาโต เสฺวว ปิตา, สารี นาม พฺราหฺมณี มาตาติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กตรสฺมึ ภนฺเต ฯเปฯ กา จ มตา อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ สารีปุตฺตตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตร ชาโต เกิดแล้ว กุเล ในตระกูล กตรสฺมึ ไหน, โก อ. ใคร ปิตา เป็นบิดา ตสฺส สารีปุตฺตตฺเถรสฺส ของพระเถระชื่อว่า สารีบุตรนั้น โหติ ย่อมเป็น จ อนึ่ง กา อ. ใคร มาตา เป็นมารดา ตสฺส สารีปุตฺตตฺเถรสฺส ของพระเถระขื่อว่าสารีบุตรนั้น โหติ ย่อมเป็นฯ
เถโร อ.พระเถระ อาห กล่าวแล้ว วงฺคนฺตพฺราหฺมณกุเล ฯเปฯ พฺราหฺมณี มาตา อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ สารีปุตฺตตฺเถโร อ.พระเถระชื่อว่าสารีบุตร ชาโต เกิดแล้ว วงฺคนฺตพฺราหฺมณกุเล ในตระกูลแห่งพราหมณ์ชื่อวังคันตะ, โส เอว วงฺคนฺตพฺราหฺมโณ อ. พราหมณ์ชื่อว่า วังคันตะนั่นเทียว ปิตา เป็นบิดา โหติ ย่อมเป็น, พฺราหฺมณี อ. นางพราหมณี สารี นาม ชื่อว่าสารี มาตา เป็นมารดา โหติ ย่อมเป็น ฯ

๕๐๔. กินฺติ โส ทารกกาเล ปญฺญายีติ. อุปติสฺโสติ อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กินฺติ โส ทารกกาเล ปญฺญายิ อิติ ว่าดังนี้
โส สารีปุตฺตตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตรนั้น ปญฺญายิ ปรากฏแล้ว กึ อิติ ว่าอะไร ดังนี้ ทารกกาเล ในกาลแห่งท่านยังเป็นเด็ก ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว อุปติสฺโสติ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โส สารีปุตฺตตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตรนั้น ปญฺญายิ ปรากฏแล้ว อุปติสฺโส อิติ ว่าอ. มาณพชื่อว่าอุปติสสะ ดังนี้ ฯ

๕๐๕. โก ปน ภนฺเต มหาโมคฺคลฺลานตฺเถรสฺส ปิตา, กา จ มาตาติ.
โกลิตคาเม อาวุโส เชฏฺฐพฺราหฺมโณ ปิตา, โมคฺคลฺลี นาม พฺราหฺมณี มาตาติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว โก ปน ฯเปฯ กา มาตา อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ โก อ. ใคร ปิตา เป็นบิดา โมคฺคลฺลานตฺเถรสฺส ของพระเถระชื่อว่าโมคคัลานะ โหติ ย่อมเป็น, จ ก็ อ. ใคร มาตา เป็นมารดา โหติ ย่อมเป็นฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว โกลิตคาเม อาวุโส ฯเปฯ พฺราหฺมณี มาตา อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ เชฏฺฐพฺราหฺมโณ อ. พราหมณ์ผู้เจริญที่สุด โกลิตคาเม ในบ้านชื่อว่าโกลิตะ ปิตา เป็นบิดา โหติ ย่อมเป็น, พฺราหฺมณี อ. นางพราหมณี โมคฺคลฺลี นาม ชื่อว่าโมคคัลลี มาตา เป็นมารดา โหติ ย่อมเป็น.

๕๐๖. โก นาม ภนฺเต เถรสฺส ปิตาติ. ตสฺส นามํ ปญฺญายติ อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว โก นาม ภนฺเต เถรสฺส ปิตา อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปิตา อ.เถรสฺส ของพระเถระ โก นาม ชื่ออะไร ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าววแล้ว ตสฺส นามํ น ปญฺญายติ อวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ นามํ อ. ชื่อ ตสฺส เถรสฺส ปิตุโน แห่งบิดาแห่งพระเถระนั้น น ปญฺญายติ ย่อมไม่ปรากฏ ฯ

๕๐๗. กินติ ปน ภนฺเต ทารกกาเล เถรํ ชญฺชานึสูติ. โกลิโตติ อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว กินติ ปน ภนฺเต ทารกกาเล เถรํ สญฺชานึสุ อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ ชนา อ. ชน ท. สญฺชานึสุ รู้พร้อมแล้ว เถรํ ซึ่งพระเถระ กึ อิติ ว่า อ. อะไร ดังนี้ ทารกกาเล ในกาลแห่งท่านเป็นเด็ก ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว โกลิโตติ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ชนา อ. ชน ท. สญฺชานึสุ รู้พร้อมแล้ว เถรํ ซึ่งพระเถระ โกลิโต อิติ ว่า อ. มาณพชื่อว่าโกลิตะ ดังนี้ ทารกกาเล ในกาลแห่งท่านเป็นเด็ก ฯ

๕๐๘. กินฺเต อารพฺภ นิกฺขมิตฺวา ปพฺพชึสุ ภนฺเตติ. โมกฺขธมฺมํ อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุขื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว กินฺเต อารพฺภ เคหโต นิกฺขมิตฺวา ปพฺพชึสุ ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ เต เทฺว เถรา อ. พระเถระ ท. สองเหล่านั้น อารพฺภ ปรารภ กึ การณํ ซึ่งเหตุอะไร นิกฺขมิตฺวา ออกแล้ว เคหโต จากเรือน ปพฺพชึสุ บวชแล้วฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว โมฺกขธมฺมํ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ เต เทฺว เถรา อ. พระเถระ ท. สองเหล่านั้น อารพฺภ ปรารภ โมกฺขธมฺมํ ซึ่งธรรมเป็นเครื่องพ้น นิกฺขมิตฺวา ออกแล้ว เคหโต จากเรือน ปพฺพชึสุ บวชแล้ว ฯ

๕๐๙. วิตฺถาเรน เตสํ ปวตฺตึ โสตุ(ตุง) อิจฺฉามิ ภนฺเตติ.
วิธุโร อ.ภิกษุชื่อว่าวิธุระ อาห กล่าวแล้ว วิตฺถาเรน เตสํ ปวตฺตึ โสตุ อิจฺฉามิ ภนฺเต อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อหํ อ. กระผม อิจฺฉามิ ย่อมปรารถนา โสตุ(ตุง) เพื่ออันฟัง ปวตฺตึ ซึ่งความเป็นไปทั่ว เตสํ เถรานํ แห่งพระเถระ ท. เหล่านั้น วิตฺถาเรน โดยพิสดาร.

๕๑๐. เต กิริ อาวุโส คิหิกาเล สหายกา หุตฺวา เอกทิวสํ ราชคเห คิรคฺคสมชฺชํ ปสฺสนฺตา, ‘กินฺโน โอโลกเนน, วสฺสเต อปฺปตฺเต อิเม มริสฺสนฺตีติ จินฺเตสุ(สุง). เตสํ เอวํ จินฺตยนฺตานํ สํเวโค อุปฺปชฺชิ. ตโต เต สหายกา อมฺเหหิ ปพฺพชิตฺวา โมกฺขธมฺมํ ปริเยสิตุ(ตุง) วฏฺฏตีติ อญฺญมญฺญํ มนฺเตตฺวา สมานฉนฺทา หุตฺวา อตฺตโน ปริวาเรหิ สทฺธึ สญฺชยสฺส นาม ปริพฺพาชกสฺส สนฺติเก ปพฺพชึสุ. เต สพฺพํ สญฺชยสฺส สทฺธึ อุคฺคเหตฺวา นิสฺสารกภาวํ ญตฺวา อมฺเหสุ โย ปฐมํ โมกฺขธมฺมํ อธิคจฺฉติ, โส อิตรสฺส อาโรเจตูติ อญฺญมญฺญํ กติกํ กรึสุ, เอกทิวสํ อุปติสฺโส ราชคเห ปิณฺฑาย จรนฺตํ อสฺสชิตฺเถรํ ทิสฺวา อิริยาปเถสุ ปสีทิสฺวา วิปฺปสนฺนานิ โข เต อาวุโส อินฺทฺริยานิ, ปริสุทฺโธ ฉวิวณฺโณ, กํสิ อาวโส อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต, โก วา เต สตฺถา, กสฺส วา ตฺวํ ธมฺมํ โรเจสีติ ปุจฺฉิตฺวา อมฺหากํ ภควโต สาวกภาวํ ญตฺวา ธมฺมํ เทเสตุ(ตุง) เถรํ ยาจิตฺวา, ธมฺมํ เทสิยมาเน, โสตาปตฺติผลํ ปตฺวา ปริพฺพาชากรามํ อาคนฺตฺวา โกลิตสฺส ปวตฺตึ อาโรเจตฺวา ตญฺเญว ธมฺมํ เทเสติ. โสปิ ตํ สุตฺวา โสตาปตฺติผเล ปติฏฺฐหิ. เต สปิวารา สญฺชยสฺส สนฺติกํ คนฺตฺวา อาปุจฉิตฺวา เวฬุวนํ คนฺตฺวา ภควโต สนฺติเก ลทฺธูปสมฺปทา เตน ทินฺโนวาทํ สุตฺวา อรหตฺตํ ปาปุณึสูติ.
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว เต กิร อาวุโส ฯเปฯ สุตฺวา อรหตฺตํ ปาปุณึสุ อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ กิร ได้ยินว่า เต เถรา อ. พระเถระ ท. เหล่านั้น สหายกา เป็นผู้เป็นสหาย หุตฺวา เป็น คิหิกาเล ในกาลแห่งตนเป็นคฤหัสถ์ ปสฺสนฺตา ดูอยู่ คิรคฺคสมชฺชํ ซึ่งมหรสพอันบุคคลพึงเล่นบนยอดแห่งภูเขา ราชคเห ในกรุงราชคฤห์ เอกทิวสํ ในวันหนึ่ง จินฺเตสุ(สุง) คิดแล้ว กินฺโนฯเปฯ มริสฺสนฺตี อิติ ว่าดังนี้(เลขใน) กึ ปโยชนํ อ. ประโยชน์อะไร โอโลกเนน ด้วยอันดู โน แก่เรา ท. วสฺสสเต ครั้นเมื่อร้อยแห่งปี อปฺปตฺเต ไม่ถึงแล้ว อิเม สตฺตา อ. สัตว์ ท. เหล่านี้ มริสฺสนฺติ จักตายฯ เตสํ สหายกานํ เมื่อสหาย ท. เหล่านั้น จินฺตยนฺตานํ คิดอยู่ เอวํ อย่างนี้ สํเวโค อ. ความสังเวช อุปฺปชฺชิ เกิดขึ้นแล้ว ฯ ตโต ในลำดับนั้น สหายกา อ.สหาย ท. เต เหล่านั้น มนฺเตตฺวา ปรึกษาแล้ว อญฺญมญฺญํ ซี่งกันและกัน อมฺเหหิ ฯเปฯ วฏฺฏติ อิติ ว่าดังนี้ สมานจฺฉนฺทา เป็นผู้มีความพอใจเสมอกัน หุตฺวา เป็น ปพฺพชึสุ บวชแล้ว สนฺติเก ในสำนัก ปริพฺพาขกสฺส แห่งปริพพาชก สญฺชยสฺส นาม ชื่อว่าสัญชัย สทฺธึ กับ ปริวาเรหิ ด้วยบริวาร ท. ของตน(เลขใน) อมฺเหหิ ปพฺพชิตฺวา ปริเยเสตุ(ตุง) อ. อันอันเรา ท. บวชแล้วจึงแสวงหา โมกฺขธมฺมํ ซึ่งธรรมเป็นเครื่องพ้น วฏฺฏติ ย่อมควร ฯ เต สหายกา อ. สหาย ท. เหล่านั้น อุคฺคเหตฺวา เรียนเอาแล้ว ลทฺธึ ซึ่งลัทธิ สญฺชยสฺส แห่งปริพพาชกชื่อว่าสัญชัย สพฺพํ ทั้งปวง ญตฺวา ทราบแล้ว นิสฺสารกภาวํ ซึ่งความที่แห่งลัทธิอันตนเรียนเอาแล้วเป็นธรรมชาติไม่มีแก่นสาร กรึสุ กระทำแล้ว กติกํ ซึ่งความนัดหมาย อญฺญมญฺญํ กะกันและกัน อมฺเหสุ ฯเปฯ อาโรเจตุ อิติ ว่าดังนี้ (เลขใน) อมฺเหสุ ในเรา ท. หนา โย ปุคฺคโล อ. บุคคลใด อธิคจฺฉติ ย่อมถึงทับ (บรรลุ) โมกฺขธมฺมํ ซึ่งธรรมเป็นเครื่องหลุดพ้น ปฐมํ ก่อน, โส ปุคฺคโล อ. บุคคลนั้น อาโรเจตุ จงบอก อิสรสฺส ปุคฺคลสฺส แก่บุคคลนอกนี้ ฯ เอกทิวสํ ในวันหนึ่ง อุปติสฺโส อ. ปริพพาชกชื่อว่าอุปติสสะ ทิสฺวา เห็นแล้ว อสฺสชิตฺเถรํ ซึ่งพระเถระชื่อว่าอัสสชิ จรนฺตํ ผู้เที่ยวไปอยู่ ปิณฺฑาย เพื่อบิณฑบาต ราชคเห ในกรุงราชคฤห์ ปสีทิตฺวา เลื่อมใสแล้ว อิริยาปเถสุ ในอิริยาบถ ท. ปุจฺฉิตฺวา ถามแล้ว วิปฺปสนฺนานิ โข ฯเปฯ โรเจสิ อิติ ว่าดังนี้ ญตฺวา ทราบแล้ว อมฺหากํ ภควโต สาวกภาวํ ซึ่งความที่แห่งพระเถระเป็นพระสาวกของพระผู้มีพระภาคของเรา ยาจิตฺวา วิงวอนแล้ว เถรํ ซึ่งพระเถระ เทเสต(ตุง) เพื่ออันแสดง ธมฺมํ ซึ่งธรรม ธมฺเม ครั้นเมื่อธรรม เถเรน อันพระเถระ เทสิยมาเน แสดงอยู่ ปตฺวา บรรลุแล้ว โสตาปตฺติผลํ ซึ่งพระโสดาปัตติผล อาคนฺตฺวา มาแล้ว ปริพฺพาชการามํ สู่อารามแห่งปริพพาชก อาโรเจตฺวา บอกแล้ว ปวตฺตึ ซึ่งเรื่องอันเป็นไปทั่ว โกลิตสฺส แก่ปริพพาชากชื่อว่าโกลิตะ เทเสสิ แสดงแล้ว ธมฺมํ ซึ่ งธรรม ตํ เอว นั้นนั่นเทียว (เลขใน) อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อินฺทฺริยานิ อ. อินทรีย์ ท. เต ของท่าน วิปฺปสนฺนานิ โข ผ่องใสแล้วแล ฉวิวณฺโณ อ. สีแห่งผิว ปริสุทฺโธ หมดจดรอบแล้ว อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ตฺวํ อ. ท่าน ปพฺพชิโต เป็นผู้บวชแล้ว อุทฺทิสฺส เจาะจง กํ ซึ่งใคร อสิ ย่อมเป็น โก วา อ. ใครหรือ สตฺถา เป็นครู เต ของท่าน โหติ ย่อมเป็น วา หรือว่า ตฺวํ อ. ท่าน โรเจสิ ย่อมชอบใจ ธมฺมํ ซึ่งธรรม กสฺส ของใคร ฯ โสปิ โกลิโต อ. ปริพพาชกชื่อว่าโกลิตะแม้นั้น สุตฺวา ฟังแล้ว ตํ ธมฺมํ ซึ่งธรรมนั้น ปติฏฺฐหิ ตั้งอยู่เฉพาะแล้ว โสตาปตฺติผเล ในโสดาปัตติผล ฯ เต ปริพฺพาชกา อ. ปริพพาชก ท. เหล่านั้น สปิวารา ผู้เป็นไปกับด้วยบริวาร คนฺตวา ไปแล้ว สนฺติกํ สู่สำนัก สญฺชยสฺส แห่งปริพพาชกชื่อว่าสัญชัย อาปุจฺฉิตฺวา อำลาแล้ว คนฺตฺวา ไปแล้ว เวฬุวนํ สู่พระวิหารชื่อว่าเวฬุวัน ภควโต สนฺติเก ลทฺธูปสมปทา เป็นผู้มีอุปสมบทได้แล้ว ในสำนักแห่งพระผู้มีพระภาค หุตฺวา เป็น สุตฺวา ฟังแล้ว เตน ทินฺโนวาทํ ซึ่ งโอวาทอันอันพระผู้มีพระภาคนั้นประทานแล้ว ปาปุณึสุ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ ฯ

๕๑๑. กึ ปน ภนฺเต เอกกฺขเณเยว อรหตฺตํ ปาปุณึสุ อุทาหุ นานาขเณติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว กึ ปน ฯเปฯ อุทาหุ นานาขเณ อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ เต เถรา อ. พระเถระ ท. เหล่านั้น ปาปุณึสุ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ เอกกฺขเณ เอว ในขณะเดียวกันนั้นเทียว กึ หรือ อุทาหุ หรือว่า เต เถรา อ. พระเถระ ท.เหล่านั้น ปาปุณึสุ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ นานาขเณ ในขณะต่างๆกัน ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว นานาขเณ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ เต เถรา อ. พระเถระ ท. เหล่านั้น ปาปุณึสุ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ นานาขเณ ในขณะต่างๆกัน ฯ

๕๑๒. เก ปน ภนฺเต ปฐมํ อรหตฺตํ ปาปุณึสูติ. เตสํ ปริวารา, ตโต มหาโมคฺคลฺลานตฺเถโร, ตโต สารีปุตฺตฺเถโรติ.
วิธุโร อ. ภิกษุ ชื่อว่าวิธุระ ปุจฉิ ถามแล้ว เก ปน ภนฺเต ปฐมํ อรหตฺตํ ปาปุณึสุ อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ปน ก็ เก เถรา อ. พระเถระ ท. เหล่าไหน ปาปุณึสุ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ ปฐมํ ก่อน ฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว เตสํ ปริวารา ฯเปฯ สารีปุตฺตตฺเถโร อิติ ว่าดังนี้
ปริวารา อ. บริวาร ท. เตสํ เถรานํ แห่งพระเถระ ท. เหล่านั้น ปาปุณึสุ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ ปฐมํ ก่อน ตโต แต่นั้น มหาโมคฺคลฺลานตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่ามหาโมคคัลลานะ ปาปุณิ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ ตโต แต่นั้น สารีปุตฺตตฺเถโร อ. พระเถระชื่อว่าสารบุตร ปาปุณิ บรรลุแล้ว อรหตฺตํ ซึ่งความเป็นแห่งพระอรหันต์ ฯ

๕๑๓. เก ปน ภนฺเต สารีปุตฺตตฺเถโร จ โมคฺคลฺลานตฺเถโร จ ภควโต ปรินิพฺพานกาลโต ปุพฺเพ ปรินิพฺพายึสุ อุทาหุ ปจฺฉาติ. ปุพฺเพ อาวุโสติ.
วิธุโร อ. ภิกษุชื่อว่าวิธุระ ปุจฺฉิ ถามแล้ว กึ ปน ภนฺเต ฯเปฯ อุทาหุ ปจฺฉา อิติ ว่าดังนี้
ภนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ สารีปุตฺตตฺเถโร จ อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตรด้วย มหาโมคฺคลฺลานตฺเถโร จ อ. พระเถระชื่อว่าโมคคัลลานะด้วย ปรินิพฺพายึสุ ปรินิพพานแล้ว ปุพฺเพ ในก่อน ปรินิพฺพานกาลโต แต่กาลเป็นที่เสด็จปรินิพพาน ภควโต แห่งพระผู้มีพระภาค กึ หรือ อุทาหุ หรือว่า สารีปุตฺตตฺเถโร จ อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตรด้วย โมคฺคลฺลานตฺเถโร จ อ. พระเถระชื่อว่าโมคคัลลานะด้วย ปรินิพฺพายึสุ ปรินิพพานแล้ว ปจฺฉา ในภายหลัง ปรินิพฺพานกาลโต แต่กาลเป็นที่เสด็จปรินิพพาน ภควโต แห่งพระผู้มีพระภาคฯ
เถโร อ. พระเถระ อาห กล่าวแล้ว ปฺพฺเพ อาวุโส อิติ ว่าดังนี้
อาวุโส ดูก่อนท่านผู้มีอายุ สารีปุตฺตตฺเถโร จ อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตรด้วย มหาโมคฺคลฺลานตฺเถโร จ อ. พระเถระชื่อว่าโมคคัลลานะด้วย ปรินิพฺพายึสุ ปรินิพพานแล้ว ปุพฺเพ ในก่อน ปรินิพฺพานกาลโต แต่กาลเป็นที่เสด็จปรินิพพาน ภควโต แห่งพระผู้มีพระภาคฯ

No comments:

Post a Comment

Followers

Flagcounter

free counters

Speedy

SplashDirectory.comFree Counter